• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2db7771e5a39eb239520bdbc9eaec835' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table>\n<tbody>\n<tr>\n<td><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u21019/logo.gif\" height=\"200\" /></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><a href=\"/node/46284\">หน้าหลัก</a> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">&gt; <span lang=\"TH\"><a href=\"/node/50198\">อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์</a>  &gt; ไดโอด</span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\">ไดโอด (Diode)</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           ไดโอด เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญตัวหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เรียงกระแส กล่าวคือ ยอมให้กระแสไหลผ่านได้ทางเดียว (ยกเว้นไดโอดบางชนิด เช่น ซีเนอร์ไดโอด ที่เมื่อถูกกระแสไหลย้อนกลับที่สูงมากสามารถยอมให้กระแสไหลได้ ซึ่งไดโอดชนิดอื่นจะเสียสภาพความเป็นไดโอดไป)</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           ไดโอดมี 2 ชนิดได้แก่ ไดโอดชนิดจุดสัมผัส (Point-contact diode) และไดโอดชนิดหัวต่อ P-N (P-N junction diode) ซึ่งรายละเอียดของเว็บไซต์หลายแห่งจะบอกถึงลักษณะของไดโอดเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ของ <a target=\"_blank\" href=\"http://www.school.net.th/library/snet7/\">SchoolNet</a> ซึ่งในสื่อออนไลน์นี้จะขอกล่าวถึงชนิดของไดโอดตามลักษณะการใช้งาน </span><span style=\"color: #0000ff\">โดยไดโอดแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะดังนี้</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u21019/rectifier.gif\" height=\"296\" style=\"width: 227px; height: 222px\" />\n </div>\n<p>  \n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           1. ไดโอดเรียงกระแส (Rectifier diode) มีคุณสมบัติ คือ ยอมให้กระแสไหล</span><span style=\"color: #0000ff\">ผ่านทางเดียว ใช้ในการเปลี่ยนกระแสไฟฟ้าจากไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternative current) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (Direct current)</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           2. ตัวตรวจจับ<span style=\"color: #0000ff\">ไดโอด (Detector diode) </span>เป็นไดโอดชนิดแก้ว ใช้ตรวจจับสัญญาณ พบได้ในเครื่องวิทยุ โทรทัคน์ </span><span style=\"color: #0000ff\">เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           3. <span style=\"color: #0000ff\">ไดโอดความถี่สูง (High frequency diode)</span> เป็นไดโอดที่ใช้ในงานที่ใช้ความถึ่สูง เช่น  โทรทัคน์  คอมพิวเตอร์ เครื่องรับ</span><span style=\"color: #0000ff\">ดาวเทียม เป็นต้น</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           4. <span style=\"color: #0000ff\">ซีเนอร์ไดโอด (Zener diode)</span> เป็นไดโอดชนิดพิเศษ ที่เมื่อถูกกระแสไหลย้อนกลับที่สูงมากสามารถยอมให้กระแสไหลได้ ใช้ตั้งค่ากระแสหรือความต่างศักย์เบรกดาวน์ (Breakdown Current/Voltage) เช่น ซีเนอร์ไดโอดขนาด </span><span style=\"color: #0000ff\">5.1 โวลต์ ต่อในวงจร ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวซีเนอร์ไดโอดเกินกว่า 5.1 โวลต์ จะเกิดกระแสไหลย้อนในตัวซีเนอร์ไดโอดได้</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">           5. <span style=\"color: #0000ff\">ไดโอดกระแสสูง (High voltage diode)</span> ใช้ในงานควบคุมมอเตอร์กระแสสูง ส่วนมากมักใช้ในเครื่องจักร</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" width=\"140\" src=\"/files/u21019/led.gif\" height=\"232\" style=\"width: 120px; height: 165px\" /> </span></span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">           6</span></span>. ไดโอดเปล่งแสง (Light emitting diode) เป็นไดโอดที่ใช้สารประเภทแกลเลี่ยมอาร์เซ็นไนต์ฟอสไฟต์ (Gallium Arsenide Phosphide สัญลักษณ์ย่อ GaAsP) หรือสารแกลเลี่ยมฟอสไฟต์ (Gallium Phosphide สัญลักษณ์ย่อ GaP) มาทำเป็นสารกึ่งตัวนำชนิด p และ n แทนสารกึ่งตัวนำซิลิกอน (Si) และเจอร์มาเนียม (Ge) ที่พบในไดโอดชนิดอื่นๆ <br />\n </span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">           ซึ่ง</span></span>สารเหล่านี้มีคุณลักษณะพิเศษ คือ สามารถเรืองแสงได้เมื่อได้รับไบอัสตรง การเกิดแสงที่ตัว LED นี้เราเรียกว่า อิเล็กโทรลูมินิเซนต์ (Electroluminescence) ปัจจุบันนิยมใช้ LED แสดงผลในเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคิดเลข,นาฬิกา เป็นต้น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">           7. โฟโตไดโอด (Photodiode) เป็นไดโอดที่อาศัยแสงจากภายนอกผ่านเลนซ์ ซึ่งฝังตัวอยู่ระหว่างรอยต่อ p-n เพื่อกระตุ้นให้ไดโอดทำงาน </span></span> \n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span><span style=\"color: #0000ff\">แหล่งข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับไดโอด</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">     [1] <a href=\"http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/device/diode_transistor/diode.htm\">http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/device/diode_transistor/diode.htm</a></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #0000ff\">     [2] <a href=\"http://www.oknation.net/blog/sl-aom/2007/12/15/entry-2\">http://www.oknation.net/blog/sl-aom/2007/12/15/entry-2</a></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></p>\n<p>  \n </p>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1720453285, expire = 1720539685, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2db7771e5a39eb239520bdbc9eaec835' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไดโอด

หน้าหลัก อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  > ไดโอด


ไดโอด (Diode)

           ไดโอด เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญตัวหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เรียงกระแส กล่าวคือ ยอมให้กระแสไหลผ่านได้ทางเดียว (ยกเว้นไดโอดบางชนิด เช่น ซีเนอร์ไดโอด ที่เมื่อถูกกระแสไหลย้อนกลับที่สูงมากสามารถยอมให้กระแสไหลได้ ซึ่งไดโอดชนิดอื่นจะเสียสภาพความเป็นไดโอดไป)

           ไดโอดมี 2 ชนิดได้แก่ ไดโอดชนิดจุดสัมผัส (Point-contact diode) และไดโอดชนิดหัวต่อ P-N (P-N junction diode) ซึ่งรายละเอียดของเว็บไซต์หลายแห่งจะบอกถึงลักษณะของไดโอดเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ของ SchoolNet ซึ่งในสื่อออนไลน์นี้จะขอกล่าวถึงชนิดของไดโอดตามลักษณะการใช้งาน โดยไดโอดแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะดังนี้

 

           1. ไดโอดเรียงกระแส (Rectifier diode) มีคุณสมบัติ คือ ยอมให้กระแสไหลผ่านทางเดียว ใช้ในการเปลี่ยนกระแสไฟฟ้าจากไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternative current) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (Direct current)

           2. ตัวตรวจจับไดโอด (Detector diode) เป็นไดโอดชนิดแก้ว ใช้ตรวจจับสัญญาณ พบได้ในเครื่องวิทยุ โทรทัคน์ เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม

           3. ไดโอดความถี่สูง (High frequency diode) เป็นไดโอดที่ใช้ในงานที่ใช้ความถึ่สูง เช่น  โทรทัคน์  คอมพิวเตอร์ เครื่องรับดาวเทียม เป็นต้น

           4. ซีเนอร์ไดโอด (Zener diode) เป็นไดโอดชนิดพิเศษ ที่เมื่อถูกกระแสไหลย้อนกลับที่สูงมากสามารถยอมให้กระแสไหลได้ ใช้ตั้งค่ากระแสหรือความต่างศักย์เบรกดาวน์ (Breakdown Current/Voltage) เช่น ซีเนอร์ไดโอดขนาด 5.1 โวลต์ ต่อในวงจร ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวซีเนอร์ไดโอดเกินกว่า 5.1 โวลต์ จะเกิดกระแสไหลย้อนในตัวซีเนอร์ไดโอดได้

           5. ไดโอดกระแสสูง (High voltage diode) ใช้ในงานควบคุมมอเตอร์กระแสสูง ส่วนมากมักใช้ในเครื่องจักร

 

           6. ไดโอดเปล่งแสง (Light emitting diode) เป็นไดโอดที่ใช้สารประเภทแกลเลี่ยมอาร์เซ็นไนต์ฟอสไฟต์ (Gallium Arsenide Phosphide สัญลักษณ์ย่อ GaAsP) หรือสารแกลเลี่ยมฟอสไฟต์ (Gallium Phosphide สัญลักษณ์ย่อ GaP) มาทำเป็นสารกึ่งตัวนำชนิด p และ n แทนสารกึ่งตัวนำซิลิกอน (Si) และเจอร์มาเนียม (Ge) ที่พบในไดโอดชนิดอื่นๆ 
           ซึ่งสารเหล่านี้มีคุณลักษณะพิเศษ คือ สามารถเรืองแสงได้เมื่อได้รับไบอัสตรง การเกิดแสงที่ตัว LED นี้เราเรียกว่า อิเล็กโทรลูมินิเซนต์ (Electroluminescence) ปัจจุบันนิยมใช้ LED แสดงผลในเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคิดเลข,นาฬิกา เป็นต้น

           7. โฟโตไดโอด (Photodiode) เป็นไดโอดที่อาศัยแสงจากภายนอกผ่านเลนซ์ ซึ่งฝังตัวอยู่ระหว่างรอยต่อ p-n เพื่อกระตุ้นให้ไดโอดทำงาน  

แหล่งข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับไดโอด

     [1] http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/device/diode_transistor/diode.htm 

     [2] http://www.oknation.net/blog/sl-aom/2007/12/15/entry-2

 

สร้างโดย: 
Karmonrat

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 443 คน กำลังออนไลน์