• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ff869920ba326c6b4a73cca5350ca9ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\">พลังงานยึดเหนี่ยว</span></strong>\n</p>\n<p>\n      <strong><span style=\"color: #800000\">พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding Energy)</span></strong>คือ“พลังงานที่ใช้ในการยึดนิวคลีออน เข้าได้ด้วยกันในนิวเคลียสของธาตุ” หรือเป็น “พลังงานที่น้อยที่สุด ที่สามารถทำให้นิวเคลียสแตกตัวเป็นองค์ประกอบย่อย”\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"544\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_170242.jpg\" height=\"229\" />\n</p>\n<p>\n                 การที่โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่กันได้ในนิวเคลียส, เพราะมีพลังงานยึดเหนี่ยว<br />\n                    1.  มวลของนิวเคลียสน้อยกว่า  ผลรวมของมวลโปรตอนและนิวตรอน (ในสภาพอิสระ) ที่ประกอบเป็น<br />\n     นิวเคลียสเสมอ<br />\n                    2.  มวลส่วนที่หายไป  เรียกว่า mass defect (Δm)<br />\n                    3.  เทียบมวลเป็นพลังงานได้จาก E=mc²<br />\n \n</p>\n<p align=\"left\">\n     <span style=\"color: #800000\"><strong>มวลพร่อง (mass defect)</strong></span> หมายถึงมวลส่วนหนึ่งที่หายไป โดยเมื่อนิวคลีออนอิสระมารวมกันเป็นนิวเคลียส มวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม่จะมีมวลน้อยกว่า ผลรวมของมวลนิวคลีออนอิสระก่อนรวม\n</p>\n<p align=\"left\">\n     ถ้าให้ M แทนนิวเคลียสที่มีเลขมวล A และเลขอะตอมเป็น Z ซึ่ง Z คือจำนวนประจุบวกซึ่งแต่ละประจุมีมวล <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image051.gif\" height=\"25\" /> และ (A-Z) แทนจำนวนนิวตรอนซึ่งแต่ละตัวมีมวล <img border=\"0\" width=\"23\" src=\"/files/u19646/image053.gif\" height=\"24\" /> ดังนั้นจะคำนวณหามวลพร่องได้ดังนี้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"27\" src=\"/files/u19646/image055.gif\" height=\"19\" />        =          <img border=\"0\" width=\"159\" src=\"/files/u19646/image057.gif\" height=\"25\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"27\" src=\"/files/u19646/image055.gif\" height=\"19\" /> แทนมวลพร่อง มีหน่วยเป็น u (atomic mass unit)\n</p>\n<p>\n     โดย  <span style=\"color: #3366ff\">พลังงานยึดเหนี่ยว</span>  นี้เปลี่ยนรูปมาจากมวลพร่อง นั่นเองโดยการหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวได้จาก การเปลี่ยนแปลงของมวลเปลี่ยนเป็นพลังงาน โดยถ้าให้ B.E. แทนพลังงานยึดเหนี่ยว มีหน่วยเป็นเมกกะอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV) และ <img border=\"0\" width=\"27\" src=\"/files/u19646/image055.gif\" height=\"19\" /> แทนมวลพร่อง มีหน่วยเป็น u โดยที่ มวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 931 MeV ดังนั้นจะได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"32\" src=\"/files/u19646/image0061.gif\" height=\"19\" />        =          <img border=\"0\" width=\"111\" src=\"/files/u19646/image0063.gif\" height=\"25\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ตัวอย่าง</span> เช่น <img border=\"0\" width=\"31\" src=\"/files/u19646/image235.gif\" height=\"24\" /> เกิดจาก โปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว ดังสมการ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"289\" src=\"/files/u19646/image065_0.jpg\" height=\"217\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image065.jpg\">http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image065.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"33\" src=\"/files/u19646/image068.gif\" height=\"24\" />   +    <img border=\"0\" width=\"29\" src=\"/files/u19646/image070.gif\" height=\"25\" />      <img border=\"0\" width=\"63\" src=\"/files/u19646/image079.gif\" height=\"16\" />     <img border=\"0\" width=\"31\" src=\"/files/u19646/image235.gif\" height=\"24\" />\n</p>\n<p>\n                จะได้   <img border=\"0\" width=\"33\" src=\"/files/u19646/image068.gif\" height=\"24\" />    +      <img border=\"0\" width=\"29\" src=\"/files/u19646/image070.gif\" height=\"25\" />       =      2(1.0073u) + 2(1.0087u)     =   4.0320 u\n</p>\n<p>\n                มวลหลังจากรวม     <img border=\"0\" width=\"31\" src=\"/files/u19646/image235.gif\" height=\"24\" />           =      4.0015 u\n</p>\n<p>\n                ดังนั้นมวลพร่อง       <img border=\"0\" width=\"27\" src=\"/files/u19646/image055.gif\" height=\"19\" />            =      (4.0320 u) – (4.0015 u)       =   0.0305 u\n</p>\n<p>\n                พลังงานยึดเหนี่ยว    <img border=\"0\" width=\"32\" src=\"/files/u19646/image0061.gif\" height=\"19\" />          =      <img border=\"0\" width=\"111\" src=\"/files/u19646/image0063.gif\" height=\"25\" />\n</p>\n<p>\n                                                            =       0.0305 x 931 MeV  =  28.39 MeV \n</p>\n<p>\n                พลังงานยึดเหนี่ยวของ <img border=\"0\" width=\"31\" src=\"/files/u19646/image235.gif\" height=\"24\" /> มีค่าเท่ากับ 28.39 MeV\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/49995\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/022.gif\" height=\"43\" /></a>   <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19646/028.gif\" height=\"43\" />  <a href=\"/node/49997\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/019.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/42817\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/023.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">แหล่งที่มาของข้อมูล:</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.sripatum.ac.th/elibrary/%E0%B8%A740205/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C/frameset.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>  <a target=\"_blank\" href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_3.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>  <a target=\"_blank\" href=\"http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_4.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n', created = 1713925646, expire = 1714012046, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ff869920ba326c6b4a73cca5350ca9ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พลังงานยึดเหนี่ยว

พลังงานยึดเหนี่ยว

      พลังงานยึดเหนี่ยว (Binding Energy)คือ“พลังงานที่ใช้ในการยึดนิวคลีออน เข้าได้ด้วยกันในนิวเคลียสของธาตุ” หรือเป็น “พลังงานที่น้อยที่สุด ที่สามารถทำให้นิวเคลียสแตกตัวเป็นองค์ประกอบย่อย”

                 การที่โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่กันได้ในนิวเคลียส, เพราะมีพลังงานยึดเหนี่ยว
                    1.  มวลของนิวเคลียสน้อยกว่า  ผลรวมของมวลโปรตอนและนิวตรอน (ในสภาพอิสระ) ที่ประกอบเป็น
     นิวเคลียสเสมอ
                    2.  มวลส่วนที่หายไป  เรียกว่า mass defect (Δm)
                    3.  เทียบมวลเป็นพลังงานได้จาก E=mc²
 

     มวลพร่อง (mass defect) หมายถึงมวลส่วนหนึ่งที่หายไป โดยเมื่อนิวคลีออนอิสระมารวมกันเป็นนิวเคลียส มวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นใหม่จะมีมวลน้อยกว่า ผลรวมของมวลนิวคลีออนอิสระก่อนรวม

     ถ้าให้ M แทนนิวเคลียสที่มีเลขมวล A และเลขอะตอมเป็น Z ซึ่ง Z คือจำนวนประจุบวกซึ่งแต่ละประจุมีมวล  และ (A-Z) แทนจำนวนนิวตรอนซึ่งแต่ละตัวมีมวล  ดังนั้นจะคำนวณหามวลพร่องได้ดังนี้

        =         

 แทนมวลพร่อง มีหน่วยเป็น u (atomic mass unit)

     โดย  พลังงานยึดเหนี่ยว  นี้เปลี่ยนรูปมาจากมวลพร่อง นั่นเองโดยการหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวได้จาก การเปลี่ยนแปลงของมวลเปลี่ยนเป็นพลังงาน โดยถ้าให้ B.E. แทนพลังงานยึดเหนี่ยว มีหน่วยเป็นเมกกะอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV) และ  แทนมวลพร่อง มีหน่วยเป็น u โดยที่ มวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 931 MeV ดังนั้นจะได้

        =         

ตัวอย่าง เช่น  เกิดจาก โปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว ดังสมการ

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/image065.jpg

   +              

                จะได้       +             =      2(1.0073u) + 2(1.0087u)     =   4.0320 u

                มวลหลังจากรวม                =      4.0015 u

                ดังนั้นมวลพร่อง                   =      (4.0320 u) – (4.0015 u)       =   0.0305 u

                พลังงานยึดเหนี่ยว              =     

                                                            =       0.0305 x 931 MeV  =  28.39 MeV 

                พลังงานยึดเหนี่ยวของ  มีค่าเท่ากับ 28.39 MeV

 

 

 

    

แหล่งที่มาของข้อมูล:


   

สร้างโดย: 
นางสาวชลธิชา มุณีกาญจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 237 คน กำลังออนไลน์