• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ed4a26e180cc6db44ec032995c3db22f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nภูมิศาสตร์มีความเป็นมาของศาสตร์และมีความก้าวหน้าในปัจจุบันอย่างไร<br />\n                วิชาภูมิศาสตร์เป็นวิชาที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง   ในสมัยโบราณมนุษย์ได้เขียนแผนที่ลงบนพื้นทรายหรือผนังถ้ำ เพื่อแสดงสัญลักษณ์บริเวณที่จะออกไปล่าสัตว์เอาไว้  นอกจากนี้ในสมัยโบราณพ่อค้าชาวฟีนิเชียจัดว่าเป็นนักภูมิศาสตร์ชาติแรกที่ถือว่ามีความรู้ทางภูมิศาสตร์แต่ไม่ได้ได้บันทึกไว้เป็นหลักฐาน  ชาวกรีก  สมัยโบราณถือว่าเป็นนักภูมิศาสตร์กลุ่มแรกที่ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกบภูมิศาสตร์ไว้  นักภูมิศาสตร์กรีกสมัยโบราณที่มีบทบาทสำคัญต่อวิชาภูมิศาสตร์  ได้แก่  เฮโรโดตุส(Heroditus) ซึ่งได้บันทึกเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบริเวณที่เดินทางผ่านเข้าไปในกรีก  เปอร์เซีย และอียิปต์  นอกจากนี้ เพลโต (Plato) ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ไว้ในเรื่อง “วิญญาณของท้องทะเลที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์  ซึ่งทำให้ประชาชนหรือประเทศที่อยู่ใกล้เคียงกันไม่เป็นมิตรและไม่ซื่อสัตย์ต่อกัน” ส่วนอริสโตเติล(Aristotle) ได้รวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิชาภูมิศาสตร์ที่ได้จากการสังเกตและการทดลอง  เอราทอสทีนีส(Eratosthenes) เป็นบุคคลแรกที่นำคำว่า ภูมิศาสตร์ มาใช้ เป็นผู้วัดขนาดของโลกและสร้างแผนที่โลกขึ้นเป็นครั้งแรก  สตราโบ(Strabo) ได้เขียนตำราเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ไว้ 17 เล่ม โดยเป็นการบรรยายเรื่องราวของภูมิภาคต่างๆในยุโรป อินเดีย ลุ่มน้ำไทกรีสและยูเฟรทีสของเปอร์เซีย  โตเลมี (Ptolemy) เป็นนักภูมิศาสตร์คนแรกที่ได้นำสถานที่ตั้งเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิชาภูมิศาสตร์และได้สร้างแผนที่เพื่อใช้ในการสำรวจ  จากประวัติความเป็นมาดังกล่าว  ทำให้เห็นว่าการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์จะเป็นการบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับสถานที่  และความเป็นอยู่ของประชากรเป็นส่วนใหญ่<br />\n                หลังจากสมันกรีกวิชาภูมิศาสตร์เข้าสู่ยุคมืด เพราะอิทธิพลของศาสนามาครอบงำวิชาการเอไว้  ทำให้วิชาภูมิศาสตร์ไม่ได้รับความสนใจจากประชาชนในสมัยนั้นแต่วิชาภูมิศาสตร์กลับไปเจริญก้าวหน้าในดินแดนอิสลามทั้งนี้เนื่องจากพวกที่นับถือศสานาอิสลามได้แผ่ขยายอิทธิพลเข้าครอบครองดินแดนต่างๆทำให้นักเดินทางชาวอาหรับได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาภูมิศาสตร์ได้มาก  นักภูมิศาสตร์ชาวมุสลิมที่สำคัญ ชื่อ  อิบึม  ฮาคาล (Ibn  Haukal)  ได้เขียนบรรยายความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรมุสลิมไว้ในหนังสือชื่อ”วิถีและอาณาจักร”<br />\n                ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา  การศึกษาวิชาภูมิศาสตร์เริ่มเข้าสู่ยุคการศึกษาภูมิศาสตร์สมัยใหม่  โดยเฉพาะมีความเจริญก้าวหน้ามากในประเทศเยอรมนี  นักภูมิศาสตร์ที่มีบทบาทสำคัญในสมัยนี้  ได้แก่        อะเล็กซานเดอร์  วอน  ฮันโบลด์ (Alexander  von Humboldt) ผู้ที่ได้รับการขนานนามว่า  บิดาแห่งวิชาภูมิศาสตร์สมัยใหม่  ผลงานที่สำคัญ  คือ หนังสือชื่อ  เดอะ  คอสมอส (The Kosmos) ซึ่งเป็นการบรรยายเรื่องราวต่างๆ  เกี่ยวกับโลก  และยังได้สร้างแผนที่โลกที่แสดงบริเวณอุณหภูมิที่เท่ากันไว้ด้วย  ส่วน  คาร์ล  ริทเทอร์ (Carl   Ritter) เป็นนักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมันที่สำคัญอีกคนหนึ่ง  ผลงานที่สำคัญ  คือ  หนังสือชื่อ  เออร์ดคูน(Erdkund) ซึ่งได้บรรยายเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับทวีปเอเชีย  และอเมริกาไว้โดยละเอียด  นอกจากนี้ยังมี  ฟรีดริซ  รัทเชิล(Friedrich  Ratzel) นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมันที่ให้ความสนใจด้านภูมิศาสตร์วัฒนธรรม  ผลงานที่สำคัญได้แก่  หนังสือภูมิศาสตร์มนุษย์  (Anthropogeographic) ซึ่งเน้นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับมนุษย์<br />\n                ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกา ภูมิศาสตร์สมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากนักภูมิศาสตร์ที่สำคัญหลายคนที่พยายามถ่อยทอดความรู้ด้านวิชาภูมิศาสตร์ให้กับนักภูมิศาสตร์ชาวอเมริกา  ชี้แนะขอบเขตของวิชาภูมิศาสตร์ไว้ว่า”เป็นการศึกษาเรื่องราวของภูมิทัศน์  อันได้แก่ ภูมิทัศน์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม”<br />\n                จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า  วิชาภูมิศาสตร์ได้มีการพัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด  ทั้งส่วนเนื้อหาและขอบเขตของวิชาตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันที่มีการนำเทคโนโลยีด้านอวกาศ  ตลอดจนวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์สาขาต่างๆ  ทั้งภูมิศาสตร์กายภาพ  และภูมิศาสตร์มนุษย์  ซึ่งความก้าวหน้าในวิทยาการที่กล่าวมา   ก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้โดยใช้ศาสตร์ทางด้าน ภูมิสารสนเทศ(geoinformatics)<br />\n          ปัจจุบันประเทศไทยได้นำความรู้ทางภูมิศาสตร์ได้รับมาจากศาสตร์ทางด้านภูมิสารสนเทศมาประยุกต์ใช้  เพื่อให้เกิดการพัฒนา  และการจัดการทางด้านต่างๆของประเทศ  เช่น  การจัดการทางทรัพยากรธรรมชาติในส่วนที่เกี่ยวข้อง  ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรดิน  น้ำ  ป่าไม้  และแร่  การจัดการและการใช้ประโยชน์ในงานด้านอุตุนิยมวิทยา  การใช้ประโยชน์ในการศึกษาข้อมูลต่างๆ  ทั้งที่เกี่ยวข้องกับลักษณะพื้นที่ในปัจจุบันหรือในอดีต  การจัดการด้านการวางผังเมือง   ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องยืนยันให้เห็นได้ว่า  ปัจจุบันความรู้ในสาขาวิชาภูมิศาสตร์ได้พัฒนามาสู่ระดับการศึกษาในลักษณะของรายละเอียดที่เจาะลึก  ที่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในภูมิประเทศนั้นๆโดยเฉพาะมากขึ้น\n</p>\n<p>\n<br />\n ที่มา  <a href=\"http://tc.mengrai.ac.th/punnapa/socal/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C.htm\">http://tc.mengrai.ac.th/punnapa/socal/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C.htm</a>\n</p>\n', created = 1719991702, expire = 1720078102, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ed4a26e180cc6db44ec032995c3db22f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิศาสตร์มีความเป็นมาของศาสตร์และมีความก้าวหน้าในปัจจุบันอย่างไร

ภูมิศาสตร์มีความเป็นมาของศาสตร์และมีความก้าวหน้าในปัจจุบันอย่างไร
                วิชาภูมิศาสตร์เป็นวิชาที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง   ในสมัยโบราณมนุษย์ได้เขียนแผนที่ลงบนพื้นทรายหรือผนังถ้ำ เพื่อแสดงสัญลักษณ์บริเวณที่จะออกไปล่าสัตว์เอาไว้  นอกจากนี้ในสมัยโบราณพ่อค้าชาวฟีนิเชียจัดว่าเป็นนักภูมิศาสตร์ชาติแรกที่ถือว่ามีความรู้ทางภูมิศาสตร์แต่ไม่ได้ได้บันทึกไว้เป็นหลักฐาน  ชาวกรีก  สมัยโบราณถือว่าเป็นนักภูมิศาสตร์กลุ่มแรกที่ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกบภูมิศาสตร์ไว้  นักภูมิศาสตร์กรีกสมัยโบราณที่มีบทบาทสำคัญต่อวิชาภูมิศาสตร์  ได้แก่  เฮโรโดตุส(Heroditus) ซึ่งได้บันทึกเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบริเวณที่เดินทางผ่านเข้าไปในกรีก  เปอร์เซีย และอียิปต์  นอกจากนี้ เพลโต (Plato) ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ไว้ในเรื่อง “วิญญาณของท้องทะเลที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์  ซึ่งทำให้ประชาชนหรือประเทศที่อยู่ใกล้เคียงกันไม่เป็นมิตรและไม่ซื่อสัตย์ต่อกัน” ส่วนอริสโตเติล(Aristotle) ได้รวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิชาภูมิศาสตร์ที่ได้จากการสังเกตและการทดลอง  เอราทอสทีนีส(Eratosthenes) เป็นบุคคลแรกที่นำคำว่า ภูมิศาสตร์ มาใช้ เป็นผู้วัดขนาดของโลกและสร้างแผนที่โลกขึ้นเป็นครั้งแรก  สตราโบ(Strabo) ได้เขียนตำราเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ไว้ 17 เล่ม โดยเป็นการบรรยายเรื่องราวของภูมิภาคต่างๆในยุโรป อินเดีย ลุ่มน้ำไทกรีสและยูเฟรทีสของเปอร์เซีย  โตเลมี (Ptolemy) เป็นนักภูมิศาสตร์คนแรกที่ได้นำสถานที่ตั้งเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิชาภูมิศาสตร์และได้สร้างแผนที่เพื่อใช้ในการสำรวจ  จากประวัติความเป็นมาดังกล่าว  ทำให้เห็นว่าการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์จะเป็นการบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับสถานที่  และความเป็นอยู่ของประชากรเป็นส่วนใหญ่
                หลังจากสมันกรีกวิชาภูมิศาสตร์เข้าสู่ยุคมืด เพราะอิทธิพลของศาสนามาครอบงำวิชาการเอไว้  ทำให้วิชาภูมิศาสตร์ไม่ได้รับความสนใจจากประชาชนในสมัยนั้นแต่วิชาภูมิศาสตร์กลับไปเจริญก้าวหน้าในดินแดนอิสลามทั้งนี้เนื่องจากพวกที่นับถือศสานาอิสลามได้แผ่ขยายอิทธิพลเข้าครอบครองดินแดนต่างๆทำให้นักเดินทางชาวอาหรับได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาภูมิศาสตร์ได้มาก  นักภูมิศาสตร์ชาวมุสลิมที่สำคัญ ชื่อ  อิบึม  ฮาคาล (Ibn  Haukal)  ได้เขียนบรรยายความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรมุสลิมไว้ในหนังสือชื่อ”วิถีและอาณาจักร”
                ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา  การศึกษาวิชาภูมิศาสตร์เริ่มเข้าสู่ยุคการศึกษาภูมิศาสตร์สมัยใหม่  โดยเฉพาะมีความเจริญก้าวหน้ามากในประเทศเยอรมนี  นักภูมิศาสตร์ที่มีบทบาทสำคัญในสมัยนี้  ได้แก่        อะเล็กซานเดอร์  วอน  ฮันโบลด์ (Alexander  von Humboldt) ผู้ที่ได้รับการขนานนามว่า  บิดาแห่งวิชาภูมิศาสตร์สมัยใหม่  ผลงานที่สำคัญ  คือ หนังสือชื่อ  เดอะ  คอสมอส (The Kosmos) ซึ่งเป็นการบรรยายเรื่องราวต่างๆ  เกี่ยวกับโลก  และยังได้สร้างแผนที่โลกที่แสดงบริเวณอุณหภูมิที่เท่ากันไว้ด้วย  ส่วน  คาร์ล  ริทเทอร์ (Carl   Ritter) เป็นนักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมันที่สำคัญอีกคนหนึ่ง  ผลงานที่สำคัญ  คือ  หนังสือชื่อ  เออร์ดคูน(Erdkund) ซึ่งได้บรรยายเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับทวีปเอเชีย  และอเมริกาไว้โดยละเอียด  นอกจากนี้ยังมี  ฟรีดริซ  รัทเชิล(Friedrich  Ratzel) นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมันที่ให้ความสนใจด้านภูมิศาสตร์วัฒนธรรม  ผลงานที่สำคัญได้แก่  หนังสือภูมิศาสตร์มนุษย์  (Anthropogeographic) ซึ่งเน้นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับมนุษย์
                ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกา ภูมิศาสตร์สมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากนักภูมิศาสตร์ที่สำคัญหลายคนที่พยายามถ่อยทอดความรู้ด้านวิชาภูมิศาสตร์ให้กับนักภูมิศาสตร์ชาวอเมริกา  ชี้แนะขอบเขตของวิชาภูมิศาสตร์ไว้ว่า”เป็นการศึกษาเรื่องราวของภูมิทัศน์  อันได้แก่ ภูมิทัศน์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม”
                จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า  วิชาภูมิศาสตร์ได้มีการพัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด  ทั้งส่วนเนื้อหาและขอบเขตของวิชาตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันที่มีการนำเทคโนโลยีด้านอวกาศ  ตลอดจนวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์สาขาต่างๆ  ทั้งภูมิศาสตร์กายภาพ  และภูมิศาสตร์มนุษย์  ซึ่งความก้าวหน้าในวิทยาการที่กล่าวมา   ก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้โดยใช้ศาสตร์ทางด้าน ภูมิสารสนเทศ(geoinformatics)
          ปัจจุบันประเทศไทยได้นำความรู้ทางภูมิศาสตร์ได้รับมาจากศาสตร์ทางด้านภูมิสารสนเทศมาประยุกต์ใช้  เพื่อให้เกิดการพัฒนา  และการจัดการทางด้านต่างๆของประเทศ  เช่น  การจัดการทางทรัพยากรธรรมชาติในส่วนที่เกี่ยวข้อง  ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรดิน  น้ำ  ป่าไม้  และแร่  การจัดการและการใช้ประโยชน์ในงานด้านอุตุนิยมวิทยา  การใช้ประโยชน์ในการศึกษาข้อมูลต่างๆ  ทั้งที่เกี่ยวข้องกับลักษณะพื้นที่ในปัจจุบันหรือในอดีต  การจัดการด้านการวางผังเมือง   ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องยืนยันให้เห็นได้ว่า  ปัจจุบันความรู้ในสาขาวิชาภูมิศาสตร์ได้พัฒนามาสู่ระดับการศึกษาในลักษณะของรายละเอียดที่เจาะลึก  ที่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในภูมิประเทศนั้นๆโดยเฉพาะมากขึ้น


 ที่มา  http://tc.mengrai.ac.th/punnapa/socal/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C.htm

สร้างโดย: 
naree52

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 461 คน กำลังออนไลน์