• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:373200148d5d8b4870fe0983497148b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 20pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><u>การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร</u></span></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 20pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 20pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">การทำฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพของมนุษย์</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          ในการใช้เทคโนโลยี </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">เพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในมีลักษณะที่ดีขึ้น เช่นเดียวกับเป้าหมายหนึ่งคือการในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ที่อาศัยการผสมพันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์ดั้งเดิม แต่ด้วยเทคโนโลยี </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">ทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถหาได้ว่ายีนที่จะทำให้สัตว์ลักษณะตามต้องการ เช่น หมูมีไขมันต่ำ วัวให้นมเร็วขึ้นและมากขึ้น เมื่อทราบว่ายีนควบคุมลักษณะนั้นคือยีนใดแล้วจึงย้ายยีนดังกล่าวเข้าสู่สัตว์ที่ต้องการ</span>  \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19942/6257-2.jpg\" style=\"width: 287px; height: 215px\" height=\"263\" width=\"350\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19942/phrae2-702-1-3.jpg\" style=\"width: 321px; height: 228px\" height=\"356\" width=\"550\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">อีกรูปแบบหนึ่งของการทำฟาร์มในอนาคต คือการสร้างฟาร์มสัตว์ที่เสมือนเป็นโรงงานผลิตยาเพื่อสกัดนำไปใช้ในการแพทย์ ตัวอย่างเช่น การสร้างแกะที่ได้รับการถ่ายยีน เพื่อให้สร้างโปรตีนที่มีอยู่ในเลือดของคน และให้แกะผลิตน้ำนมที่มีโปรตีนนี้ โปรตีนชนิดนี้จะยับยั้งเอนไซม์ที่ก่อให้เกิดการทำลายเซลล์ปอดในผู้ป่วยที่เป็นโรคซิสติกไฟโปรซิส (</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">cystic fibrosis)</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">และโรคระบบทางเดินหายใจที่เรื้อรังชนิดอื่นๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">ในการสร้างสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม(</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">transgenic<span>  </span>animal)</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">จะเริ่มจากการแยกเซลล์ไข่ออกจากเพศเมีย และฉีดยีนที่ต้องการเข้าไปในนิวเคลียสของเซลล์ไข่(</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">microinjection)</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">ซึ่งจะมีเซลล์ไข่บางเซลล์ยอมให้ยีนดังกล่าวแทรกเข้าในจีโนมของนิวเคลียสและแสดงออกได้ จากนั้นทำการผสมพันธุ์ในหลอดทดลอง(</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">in<span>  </span>vitro<span>  </span>fertilization)</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">และถ่ายฝากเข้าในตัวแม่ผู้รับ เพื่อให้เจริญเป็นตัวใหม่<span>  </span>ซึ่งจะมียีนที่ต้องการอยู่โดยไม่จำเป็นต้องมาจากสปีชีส์เดียวกัน</span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19942/physics_comcharudoldnews0282pic2monkey3_jpg_.jpg\" style=\"width: 463px; height: 549px\" height=\"600\" width=\"514\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #33cccc; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">(แอนดี </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #33cccc; font-size: 16pt\">(ANDi) <span lang=\"TH\">ลิงดัดแปลงพันธุกรรมเรืองแสงตัวแรกของโลก)</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #33cccc; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #33cccc; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><a href=\"/node/46539\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp7.gif\" height=\"50\" width=\"63\" /></a>          <a href=\"/node/43018\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp1.gif\" height=\"60\" width=\"90\" /></a>          <a href=\"/node/49981\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp8.gif\" height=\"50\" width=\"62\" /></a></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715128528, expire = 1715214928, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:373200148d5d8b4870fe0983497148b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

 

การทำฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพของมนุษย์

 

          ในการใช้เทคโนโลยี DNA เพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในมีลักษณะที่ดีขึ้น เช่นเดียวกับเป้าหมายหนึ่งคือการในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ที่อาศัยการผสมพันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์ดั้งเดิม แต่ด้วยเทคโนโลยี DNA ทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถหาได้ว่ายีนที่จะทำให้สัตว์ลักษณะตามต้องการ เช่น หมูมีไขมันต่ำ วัวให้นมเร็วขึ้นและมากขึ้น เมื่อทราบว่ายีนควบคุมลักษณะนั้นคือยีนใดแล้วจึงย้ายยีนดังกล่าวเข้าสู่สัตว์ที่ต้องการ  

          อีกรูปแบบหนึ่งของการทำฟาร์มในอนาคต คือการสร้างฟาร์มสัตว์ที่เสมือนเป็นโรงงานผลิตยาเพื่อสกัดนำไปใช้ในการแพทย์ ตัวอย่างเช่น การสร้างแกะที่ได้รับการถ่ายยีน เพื่อให้สร้างโปรตีนที่มีอยู่ในเลือดของคน และให้แกะผลิตน้ำนมที่มีโปรตีนนี้ โปรตีนชนิดนี้จะยับยั้งเอนไซม์ที่ก่อให้เกิดการทำลายเซลล์ปอดในผู้ป่วยที่เป็นโรคซิสติกไฟโปรซิส (cystic fibrosis)และโรคระบบทางเดินหายใจที่เรื้อรังชนิดอื่นๆ

          ในการสร้างสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม(transgenic  animal)จะเริ่มจากการแยกเซลล์ไข่ออกจากเพศเมีย และฉีดยีนที่ต้องการเข้าไปในนิวเคลียสของเซลล์ไข่(microinjection)ซึ่งจะมีเซลล์ไข่บางเซลล์ยอมให้ยีนดังกล่าวแทรกเข้าในจีโนมของนิวเคลียสและแสดงออกได้ จากนั้นทำการผสมพันธุ์ในหลอดทดลอง(in  vitro  fertilization)และถ่ายฝากเข้าในตัวแม่ผู้รับ เพื่อให้เจริญเป็นตัวใหม่  ซึ่งจะมียีนที่ต้องการอยู่โดยไม่จำเป็นต้องมาจากสปีชีส์เดียวกัน

(แอนดี (ANDi) ลิงดัดแปลงพันธุกรรมเรืองแสงตัวแรกของโลก)

 

 

                   

สร้างโดย: 
AiJi

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 230 คน กำลังออนไลน์