• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.145.156.122', 0, '19320ea8977326ec9346f08637e76ffa', 111, 1716789131) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:352bf23201a50e0a07325ec031e494e7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          นอกจากนี้ได้มีการใช้ลายพิมพ์ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">เพื่อพิสูจน์ความเกี่ยวพันในคดีอาญาที่รุนแรง เช่น ฆาตกรรม<span>  </span>ทำร้ายร่างกาย<span>  </span>ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานสำคัญอย่างหนึ่งประกอบการพิจารณาคดีศาล<span>  </span>ตัวอย่างเช่น<span>  </span>ในคดีฆาตกรรมคดีหนึ่ง<span>  </span>ได้นำคราบเลือดของฆาตกรที่พบในสถานที่เกิดเหตุและเลือดของผู้ต้องสงสัยจำนวน 7 คน<span>  </span>มาทำลายพิมพ์ </span>DNA <span lang=\"TH\">และนำมาเปรียบเทียบกัน</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          เมื่อนำลายพิมพ์ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">ของผู้ต้องสงสัยมาเปรียบเทียบกับลายพิมพ์ </span>DNA <span lang=\"TH\">ของคราบเลือดฆาตกรพบว่าเป็นดังนี้</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/scan000123.jpg\" height=\"600\" width=\"317\" /></span></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #33cccc; font-size: 16pt\">(<span lang=\"TH\">การเปรียบเทียบลายพิมพ์ </span>DNA <span lang=\"TH\">ของผู้ต้องสงสัยกับคราบเลือดฆาตกร</span>)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #33cccc; font-size: 16pt\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          จากภาพด้านบนที่มีการเปรียบเทียบลายพิมพ์ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">ของผู้ต้องสงสัยทั้ง 7 คน<span>  </span>จะเห็นได้ว่า<span>  </span>ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 4 มีลายพิมพ์ </span>DNA <span lang=\"TH\">ใกล้เคียงกับหลักฐานคราบเลือดในที่เกิดเหตุมากที่สุด<span>  </span>จึงอาจสรุปได้ว่าเป็นฆาตกร</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          ปัจจุบันการตรวจลายพิมพ์ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">จะใช้เทคนิค </span>PCR<span lang=\"TH\"> เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่าย<span>  </span>รวดเร็ว<span>  </span>ประหยัดค่าใช้จ่ายและใช้ตัวอย่างเลือดในปริมาณที่น้อย</span><o:p></o:p></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          ในประเทศไทย การตรวจลายพิมพ์ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">เริ่มโดยกลุ่มนักวิจัยจากหลายสถาบันร่วมกันทำงานอย่างต่อเนื่อง<span>  </span>โดยการตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือด<span>  </span>การหาตัวคนร้ายในคดีฆาตกรรม<span>  </span>การสืบหาทายาทที่แท้จริงในกองมรดก<span>  </span>นอกจากนี้ยังนำมาใช้ในการตรวจคนเข้าเมืองให้ถูกต้อง<span>  </span>กรณีการให้สัญชาติไทยแก่ชาวเขาและชนกลุ่มน้อย<span>  </span>เพื่อสืบสาวว่าบรรพบุรุษเป็นชาวเขาที่ตั้งรกรากอยู่ในประเทศไทยหรือเป็นชนต่างด้าวที่อพยพเข้ามา<span>  </span>ซึ่งมีผลต่อการพิสูจน์ชาติพันธุ์และการให้สิทธิในการอาศัยอยู่บนแผ่นดินไทยด้วย<span>  </span>นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มว่าในอนาคตอาจมีการนำลายพิมพ์ </span>DNA <span lang=\"TH\">มาประยุกต์ใช้แทนการใช้ลายนิ้วมือเพื่อทำบัตรประชาชน<span>  </span>ทำให้สืบหาตัวบุคคลได้ถูกต้องรวดเร็ว<span>  </span>โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีสืบหาตัวบุคคลที่เสียชีวิตในสภาพที่บอกไม่ได้ว่าเป็นใคร<span>  </span>เช่น<span>  </span>กรณีเครื่องบินตก หรือ ไฟไหม้</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          ปัจจุบันในประเทศไทยมีหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการที่ตรวจลายพิมพ์ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\">DNA <span lang=\"TH\">เช่น<span>  </span>สถาบันนิติเวช<span>  </span>กองพิสูจน์หลักฐาน<span>  </span>สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ<span>  </span>โรงพยาบาลต่างๆ เช่น โรงพยาบาลรามาธิบดี<span>  </span>โรงพยาบาลศิริราช<span>  </span>โรงพยาบาลเชียงใหม่ และ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม</span></span>    <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00cc00; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">เป็นต้น</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19942/bsites_comwp-contentuploads200907DNAlab_jpg_.jpg\" height=\"279\" width=\"319\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<a href=\"/node/46543\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp7.gif\" height=\"50\" width=\"63\" /></a>          <a href=\"/node/43018\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp1.gif\" height=\"60\" width=\"90\" /></a>\n</p>\n', created = 1716789141, expire = 1716875541, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:352bf23201a50e0a07325ec031e494e7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประยุกต์ใช้ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์2

          นอกจากนี้ได้มีการใช้ลายพิมพ์ DNA เพื่อพิสูจน์ความเกี่ยวพันในคดีอาญาที่รุนแรง เช่น ฆาตกรรม  ทำร้ายร่างกาย  ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานสำคัญอย่างหนึ่งประกอบการพิจารณาคดีศาล  ตัวอย่างเช่น  ในคดีฆาตกรรมคดีหนึ่ง  ได้นำคราบเลือดของฆาตกรที่พบในสถานที่เกิดเหตุและเลือดของผู้ต้องสงสัยจำนวน 7 คน  มาทำลายพิมพ์ DNA และนำมาเปรียบเทียบกัน

          เมื่อนำลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยมาเปรียบเทียบกับลายพิมพ์ DNA ของคราบเลือดฆาตกรพบว่าเป็นดังนี้

 

(การเปรียบเทียบลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยกับคราบเลือดฆาตกร)

          จากภาพด้านบนที่มีการเปรียบเทียบลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยทั้ง 7 คน  จะเห็นได้ว่า  ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 4 มีลายพิมพ์ DNA ใกล้เคียงกับหลักฐานคราบเลือดในที่เกิดเหตุมากที่สุด  จึงอาจสรุปได้ว่าเป็นฆาตกร

          ปัจจุบันการตรวจลายพิมพ์ DNA จะใช้เทคนิค PCR เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่าย  รวดเร็ว  ประหยัดค่าใช้จ่ายและใช้ตัวอย่างเลือดในปริมาณที่น้อย          ในประเทศไทย การตรวจลายพิมพ์ DNA เริ่มโดยกลุ่มนักวิจัยจากหลายสถาบันร่วมกันทำงานอย่างต่อเนื่อง  โดยการตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือด  การหาตัวคนร้ายในคดีฆาตกรรม  การสืบหาทายาทที่แท้จริงในกองมรดก  นอกจากนี้ยังนำมาใช้ในการตรวจคนเข้าเมืองให้ถูกต้อง  กรณีการให้สัญชาติไทยแก่ชาวเขาและชนกลุ่มน้อย  เพื่อสืบสาวว่าบรรพบุรุษเป็นชาวเขาที่ตั้งรกรากอยู่ในประเทศไทยหรือเป็นชนต่างด้าวที่อพยพเข้ามา  ซึ่งมีผลต่อการพิสูจน์ชาติพันธุ์และการให้สิทธิในการอาศัยอยู่บนแผ่นดินไทยด้วย  นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มว่าในอนาคตอาจมีการนำลายพิมพ์ DNA มาประยุกต์ใช้แทนการใช้ลายนิ้วมือเพื่อทำบัตรประชาชน  ทำให้สืบหาตัวบุคคลได้ถูกต้องรวดเร็ว  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีสืบหาตัวบุคคลที่เสียชีวิตในสภาพที่บอกไม่ได้ว่าเป็นใคร  เช่น  กรณีเครื่องบินตก หรือ ไฟไหม้

          ปัจจุบันในประเทศไทยมีหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการที่ตรวจลายพิมพ์ DNA เช่น  สถาบันนิติเวช  กองพิสูจน์หลักฐาน  สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  โรงพยาบาลต่างๆ เช่น โรงพยาบาลรามาธิบดี  โรงพยาบาลศิริราช  โรงพยาบาลเชียงใหม่ และ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม    เป็นต้น

 

         

สร้างโดย: 
AiJi

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 214 คน กำลังออนไลน์