• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7256bcbf2660c22f83b7a6210525eb1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n        <span style=\"color: #99cc00\">จะเห็นได้ว่าคณะมนตรีความมั่นคงปฏิบัติงานแทนสมาชิกทั้งหมดของสห ประชาชาติ ดังนั้นทุกๆ ประเทศสมาชิกยอมรับที่จะปฏิบัติตามมติของคณะมนตรี โดยจะร่วมมือในการส่งทหารและความช่วยเหลือต่างๆ ที่จำเป็น ทั้งนี้เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงปลอดภัยระหว่างประเทศตามที่ ได้รับการร้องขอมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">        นอกจากนี้ คณะมนตรีความมั่นคงยังมีคณะกรรมการเสนาธิการทหาร ซึ่งประกอบด้วยหัวหน้าเสนาธิการต่างๆ ของประเทศที่เป็นองคมนตรีประจำการที่ตั้งคณะกรรมการดังกล่าวนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือไว้บังคับประเทศที่ละเมิดคำสั่งของคณะมนตรีความมั่น คงให้ปฏิบัติตาม นอกจากคณะกรรมการเสนาธิการทหารดังกล่าวมีหน้าที่ให้คำแนะนำในปัญหาเกี่ยวกับ การปฏิบัติทางทหาร การวางแผนยุทธศาสตร์ให้แก่คณะมนตรีความมั่นคง เพื่อปราบปรามประเทศที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกได้ตกลงเป็นพิเศษว่าจะมอบกำลังทหารพร้อมทั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ ทั้งหมดหรือบางส่วนให้ นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกจะให้ความช่วยเหลืออำนวยความสะดวกตลอดจนให้สิทธิในการเดินทัพ ผ่านเข้าไปในดินแดนของตน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">         ข้อที่น่าสังเกตคือ รัฐใดๆ ที่มิใช่สมาชิกของสหประชาชาติ ถ้าตกเป็นฝ่ายในกรณีพิพาทและอยู่ในการพิจารณาของคณะมนตรีความมั่นคงแล้ว คณะมนตรีความมั่นคงมีสิทธิจะเชิญให้สมาชิกดังกล่าวนั้นเข้าร่วมการประชุม แต่ประเทศที่ได้รับเชิญไม่มีสิทธิที่จะออกเสียง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">        นอกจากนี้รัฐที่มิได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สามารถนำข้อพิพาทใดๆ ที่ตนมีมาขอให้คณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาได้ แต่รัฐนั้นๆ จะต้องยอมรับปฏิบัติตามเงื่อนไขของคณะมนตรีโดยเฉพาะจะต้องรับเอาวิธีการ ระงับกรณีพิพาทโดยสันติวิธีตามกฎบัตรมาเป็นหลักในการระงับกรณีพิพาทก่อน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008080\"> <strong><u>สมาชิกภาพและการออกเสียง</u></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008080\">        คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิกประจำ 5 ประเทศ คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน (สหประชาชาติรับสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าแทนจีนคณะชาติในองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2514) ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา และสมาชิกไม่ประจำอีก 10 ประเทศ สมาชิกมีคะแนนเสียงประเทศละ 1 คะแนน สมาชิกประเภทนี้ได้รับเลือกจากสมัชชาให้เข้ารับตำแหน่งคราวละ 2 ปี</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008080\">        ส่วนการออกเสียงนั้น สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงออกเสียงได้ประเทศละ 1 เสียง คำวินิจฉัยในปัญหาใดๆ ยกเว้นเรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบงานธรรมดาจะต้องได้รับเสียงเห็นชอบจาก สมาชิก 9 เสียง แต่ถ้า 1 ใน 5 ของสมาชิกประจำของคณะมนตรีความมั่นคงออกเสียงไม่เห็นชอบ หรือที่เรียกว่าใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) แล้ว มตินั้นก็เป็นอันตกไป</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008080\">        อนึ่งในการทำความตกลงกันโดยสันติในกรณีพิพาทใดๆ ก็ตามที่มีประเทศสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงเกี่ยวข้องอยู่ด้วยแล้ว สมาชิกประเทศนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกประจำหรือได้รับเลือกตั้งขึ้นมาจะต้องงดเว้นไม่ออกเสียง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008080\">        สมัยประชุม การประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงมิได้กำหนดไว้แน่นอน แล้วแต่จะมีเรื่องสำคัญที่จะต้องพิจารณาหรือไม่ แต่เท่าที่ปรากฏแล้ว คณะมนตรีความมั่นคงจะต้องปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ขาดระยะ ผู้ทำหน้าที่ประธานคณะมนตรีความมั่นคงหมุนเวียนตามลำดับตัวอักษรทุกเดือน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008080\">        คณะมนตรีความมั่นคง ถูกกำหนดขึ้นมาเป็นผู้ดูแลสำคัญในเรื่องสันติภาพของโลก ในขณะ ที่สมัชชา สามารถหารือในเรื่องที่เป็นกังวลของโลก คณะมนตรีความมั่นคงจะหารือเฉพาะ เรื่องของ ปัญหาสันติภาพ และความมั่นคง สมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ยินยอมที่รับมติของ คณะมนตรีความ มั่นคงและปฏิบัติตามข้อมตินั้นๆ คณะมนตรีความมั่นคงประกอบด้วยสมาชิก 15 ประเทศ โดยมี 5 ประเทศเป็นสมาชิกถาวร ได้แก่ จีน, ฝรั่งเศส, สหพันธ์รัสเซีย, สหราชอาณาจักร และ สหรัฐ สมาชิอื่นอีก 10 ประเทศ มาจากการเลือกของสมัชชาเพื่อดำรงวาระสมัย 2 ปี</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #339966\">        คณะมนตรีความมั่นคงแตกต่างจากสมัชชาตรงที่ไม่มีการประชุม ปกติ แต่อาจเรียกประชุมด่วน ได้ทุกเมื่อ ไม่ว่าประเทศใดที่เป็นสมาชิกหรือ มิใช่สมาชิกของสหประชาชาติ หรือเลขาธิการ อาจนำเรื่องที่เป็นปัญหาขัดแย้ง หรือภัยคุกคามต่อสันติภาพเข้าสู่คณะมนตรีความมั่นคงได้ทุกเมื่อ ประเทศสมาชิกต่างผลัดเปลี่ยนกันเป็นประธานคณะมนตรีครั้งละ 1 เดือน โดยเรียงลำดับ ตามชื่อประเทศ ในอักษรภาษาอังกฤษ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43110\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">หน้าหลัก</span></span></span></a>\n</p>\n', created = 1726836343, expire = 1726922743, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7256bcbf2660c22f83b7a6210525eb1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

องค์การระหว่างประเทศ (องค์การสหประชาชาติ-คณะมนตรีความมั่นคง)

        จะเห็นได้ว่าคณะมนตรีความมั่นคงปฏิบัติงานแทนสมาชิกทั้งหมดของสห ประชาชาติ ดังนั้นทุกๆ ประเทศสมาชิกยอมรับที่จะปฏิบัติตามมติของคณะมนตรี โดยจะร่วมมือในการส่งทหารและความช่วยเหลือต่างๆ ที่จำเป็น ทั้งนี้เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงปลอดภัยระหว่างประเทศตามที่ ได้รับการร้องขอมา

        นอกจากนี้ คณะมนตรีความมั่นคงยังมีคณะกรรมการเสนาธิการทหาร ซึ่งประกอบด้วยหัวหน้าเสนาธิการต่างๆ ของประเทศที่เป็นองคมนตรีประจำการที่ตั้งคณะกรรมการดังกล่าวนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือไว้บังคับประเทศที่ละเมิดคำสั่งของคณะมนตรีความมั่น คงให้ปฏิบัติตาม นอกจากคณะกรรมการเสนาธิการทหารดังกล่าวมีหน้าที่ให้คำแนะนำในปัญหาเกี่ยวกับ การปฏิบัติทางทหาร การวางแผนยุทธศาสตร์ให้แก่คณะมนตรีความมั่นคง เพื่อปราบปรามประเทศที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกได้ตกลงเป็นพิเศษว่าจะมอบกำลังทหารพร้อมทั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ ทั้งหมดหรือบางส่วนให้ นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกจะให้ความช่วยเหลืออำนวยความสะดวกตลอดจนให้สิทธิในการเดินทัพ ผ่านเข้าไปในดินแดนของตน

         ข้อที่น่าสังเกตคือ รัฐใดๆ ที่มิใช่สมาชิกของสหประชาชาติ ถ้าตกเป็นฝ่ายในกรณีพิพาทและอยู่ในการพิจารณาของคณะมนตรีความมั่นคงแล้ว คณะมนตรีความมั่นคงมีสิทธิจะเชิญให้สมาชิกดังกล่าวนั้นเข้าร่วมการประชุม แต่ประเทศที่ได้รับเชิญไม่มีสิทธิที่จะออกเสียง

        นอกจากนี้รัฐที่มิได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สามารถนำข้อพิพาทใดๆ ที่ตนมีมาขอให้คณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาได้ แต่รัฐนั้นๆ จะต้องยอมรับปฏิบัติตามเงื่อนไขของคณะมนตรีโดยเฉพาะจะต้องรับเอาวิธีการ ระงับกรณีพิพาทโดยสันติวิธีตามกฎบัตรมาเป็นหลักในการระงับกรณีพิพาทก่อน

 สมาชิกภาพและการออกเสียง

        คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิกประจำ 5 ประเทศ คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน (สหประชาชาติรับสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าแทนจีนคณะชาติในองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2514) ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา และสมาชิกไม่ประจำอีก 10 ประเทศ สมาชิกมีคะแนนเสียงประเทศละ 1 คะแนน สมาชิกประเภทนี้ได้รับเลือกจากสมัชชาให้เข้ารับตำแหน่งคราวละ 2 ปี

        ส่วนการออกเสียงนั้น สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงออกเสียงได้ประเทศละ 1 เสียง คำวินิจฉัยในปัญหาใดๆ ยกเว้นเรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบงานธรรมดาจะต้องได้รับเสียงเห็นชอบจาก สมาชิก 9 เสียง แต่ถ้า 1 ใน 5 ของสมาชิกประจำของคณะมนตรีความมั่นคงออกเสียงไม่เห็นชอบ หรือที่เรียกว่าใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) แล้ว มตินั้นก็เป็นอันตกไป

        อนึ่งในการทำความตกลงกันโดยสันติในกรณีพิพาทใดๆ ก็ตามที่มีประเทศสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงเกี่ยวข้องอยู่ด้วยแล้ว สมาชิกประเทศนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกประจำหรือได้รับเลือกตั้งขึ้นมาจะต้องงดเว้นไม่ออกเสียง

        สมัยประชุม การประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงมิได้กำหนดไว้แน่นอน แล้วแต่จะมีเรื่องสำคัญที่จะต้องพิจารณาหรือไม่ แต่เท่าที่ปรากฏแล้ว คณะมนตรีความมั่นคงจะต้องปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ขาดระยะ ผู้ทำหน้าที่ประธานคณะมนตรีความมั่นคงหมุนเวียนตามลำดับตัวอักษรทุกเดือน

        คณะมนตรีความมั่นคง ถูกกำหนดขึ้นมาเป็นผู้ดูแลสำคัญในเรื่องสันติภาพของโลก ในขณะ ที่สมัชชา สามารถหารือในเรื่องที่เป็นกังวลของโลก คณะมนตรีความมั่นคงจะหารือเฉพาะ เรื่องของ ปัญหาสันติภาพ และความมั่นคง สมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ยินยอมที่รับมติของ คณะมนตรีความ มั่นคงและปฏิบัติตามข้อมตินั้นๆ คณะมนตรีความมั่นคงประกอบด้วยสมาชิก 15 ประเทศ โดยมี 5 ประเทศเป็นสมาชิกถาวร ได้แก่ จีน, ฝรั่งเศส, สหพันธ์รัสเซีย, สหราชอาณาจักร และ สหรัฐ สมาชิอื่นอีก 10 ประเทศ มาจากการเลือกของสมัชชาเพื่อดำรงวาระสมัย 2 ปี

        คณะมนตรีความมั่นคงแตกต่างจากสมัชชาตรงที่ไม่มีการประชุม ปกติ แต่อาจเรียกประชุมด่วน ได้ทุกเมื่อ ไม่ว่าประเทศใดที่เป็นสมาชิกหรือ มิใช่สมาชิกของสหประชาชาติ หรือเลขาธิการ อาจนำเรื่องที่เป็นปัญหาขัดแย้ง หรือภัยคุกคามต่อสันติภาพเข้าสู่คณะมนตรีความมั่นคงได้ทุกเมื่อ ประเทศสมาชิกต่างผลัดเปลี่ยนกันเป็นประธานคณะมนตรีครั้งละ 1 เดือน โดยเรียงลำดับ ตามชื่อประเทศ ในอักษรภาษาอังกฤษ

หน้าหลัก

สร้างโดย: 
น.ส.วริศรา วิชญะเถลิงศักดิ์ ม.6/2 เลขที่ 45

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 408 คน กำลังออนไลน์