• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6c4376ab147a04e44fc5b912600c6e29' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #003399\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p0401_bhb.gif\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>              <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />   <span style=\"background-color: #732ef9; color: #ffffff\">สงครามครูเสดครั้งที่ 2</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">             ลัทธิเจ้าครองนคร (</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">Feudalism) <span lang=\"TH\">ฟิวดัลลิสม์ ที่พวกครูเสดนำมาใช้ในเอเชียน้อย (</span> Asia minor ) <span lang=\"TH\">ได้เผยแพร่เข้าไปสู่พวกสัลยูกเช่นกัน   พวกนี้ต่างแก่งแย่งชิงอำนาจกัน       จนแตกออกเป็นหลายนคร พวกที่ลี้ภัยสงครามครูเสดได้หนีไปกรุงแบกแดดเป็นจำนวนมาก ในขณะนั้นเป็นเดือนเราะมะฎอน เคาะลีฟะฮของแบกแดด ซื่อ มุสตะซิร บิลลาฮ ( ปกครองตั้งแต่ ปี ค.ศ.</span>1094 <span lang=\"TH\">ถึง ปี ค.ศ.</span>1118) <span lang=\"TH\">ส่งผู้แทนไปยังสุลฎอน  เพื่อขอความช่วยเหลือจาก บัรกี ยารูก (  คือพวกสัลยูก เป็นบุตรคนที่ </span>2 <span lang=\"TH\">ของมาลิกชาฮ  ซึ่งเป็นคนขี้เมา   นำความเสื่อมมาสู่วงศ์สัลยูก ปกครองปี  ค.ศ.</span>1094  <span lang=\"TH\">ถึง ปี ค.ศ.</span>1140)  <span lang=\"TH\">เพื่อยกทัพไปปราบครูเสดแต่ไม่ได้รับความช่วยเหลือ </span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span>            </span>ปี ค.ศ. </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">1108 <span lang=\"TH\">พวกมุสลิมในเมืองตริโปลี ส่งผู้แทนมาขอความช่วยเหลืออีกแต่ก็ไม่ได้ผล   หลังจากนั้นอีก  </span>3  <span lang=\"TH\">ปี ชาวเมืองอเลปโปส่งผู้แทนออกมาขอความช่วยเหลืออีก หนนี้พวกเขาเข้าไปในมัสญิดและเร่งรัดให้เคาะลีฟะฮ   ส่งกองทัพไปช่วยทางแบกแดดจึงส่งทหารไปจำนวนหนึ่งแต่ถูกพวกครูเสดฆ่าตายหมดสมัยเคาะลีฟะฮ </span>(<span lang=\"TH\">วงศ์อับบาสิยะฮ) แห่งกรุงแบกแดด   จึงปล่อยให้พวกครูเสดปกครองปาเลสไตน์และเอเชียน้อยบางส่วน เพราะปัญหาความแตกแยกและไม่สามัคคีในหมู่พวกเดียวกันของมุสลิม </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">             ต่อมา    สมัยเคาะลีฟะฮ อัล-มุกตะ ฟี ( วงศ์อับบาสิยะฮ ปี ค.ศ. </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">1136 – 1160 )  <span lang=\"TH\">ชาวสัลยูก ชื่อ  อิมาดุดดิน   ซังงี ( </span>Imaduddin Zangi ) <span lang=\"TH\">เ  ป็นลูกชายของแม่ทัพสุลฏอนมาลิกซาฮ ชื่อ อักสังการ ฉายาว่า กอลิม อัดเดาละฮเมื่ออักสังการเสียชีวิต ซังงีขณะนั้นอายุเพียง </span>14 <span lang=\"TH\">ปีแต่มีความสามารถทางการทหารและการปกครองได้รวบรวมพลฝึกทหารและเข้าตีเมืองต่างๆ   ใน ปี ค.ศ. </span>1128    <span lang=\"TH\">ยึดเมืองอเลปโปคืนมาจากพวกครูเสดได้   ในขณะนั้นพวกครูเสดก็ได้รับการสนับสนุนจากยุโรปและกรีก โดยการนำของจักรพรรดิยอน คอมเนนุส  ( </span>John Comnenus)  <span lang=\"TH\">ยึดเมือง บุซาอะ(</span>Buzaa) <span lang=\"TH\">ฆ่าพวกผู้ชายแล้วกวาดต้อนผู้หญิงและเด็กไปเป็นทาส </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">             ซังงี  ได้ยกกองทัพมาช่วยต้านทัพพวกครูเสดไว้ได้   และยึดเมืองเอเดสสา ( </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">Edessa ) <span lang=\"TH\">หรืออัรรูหะฮ  ได้เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. </span>1144  <span lang=\"TH\">ตอนแรกซังงีคิดจะแก้แค้นให้พวกมุสลิมด้วยกัน   แต่ก็ล้มเลิกความคิดและขอให้ชาวเมืองยอมแพ้   แต่กลับถูกพวกแฟรงค์เยาะเย้ย  ถากถาง  เขาจึงฆ่าทหารและพวกบาทหลวงที่เป็นตัวการในสงครามนี้ แต่ไว้ชีวิตผู้หญิง เด็ก และทรัพย์สินของพวกเขาเหล่านั้น   แต่ในที่สุดแล้วเขาก็ถูกพวกเดียวกันหักหลังโดยการลอบฆ่าเมื่อวันที่</span>5<span lang=\"TH\">เราะบีอุษษานีย</span>541<span lang=\"TH\">ตรงกับวันที่</span>14<span lang=\"TH\">กันยายนปีค.ศ.</span>1146 <br />\n</span></span></span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              พวกสัลยูกได้สูญเสียนักรบชาติทหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นคนที่มีใจกล้าหาญ ชอบศึกษาและเผยแพร่ความรู้ ซังงีมีบุตร </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">4 <span lang=\"TH\">คน ล้วนมีความสามารถทั้งสิ้น ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์ยุ่งยากนี้ พวกคริสต์ในเมืองเอเดสสาได้เกิดคิดกบฏขึ้น ฆ่าทหารมุสลิมที่รักษาเมือง ซึ่งได้รับการช่วยเหลือจากพวกแฟรงค์ ภายใต้การนำของโยสเซลิน ( </span>Joscelin ) <span lang=\"TH\">ยึดเมืองเอเดสสาได้ แต่บุตรคนที่ </span>2  <span lang=\"TH\">ของซังงีชื่อนูรุดดีน  มะหมูด ( </span>Noradius )   <span lang=\"TH\">สามารถตีคืนมาได้   พวกอาร์มิเนียนที่เป็นต้นคิดการก่อกบฏ ได้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ ทหารพวกแฟรงค์ถูกฆ่าและนูรุดดีนสั่งให้รื้อกำแพงเมือง</span> </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">               การสูญเสียเมืองเอเดสสาครั้งที่   </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">2   <span lang=\"TH\">นี้    ก่อให้เกิดการปลุกระดมให้พวกคริสเตียนหันมาป้องกันสถานกำเนิดแห่งศาสนาของตนโดยนักบุญเซ็นต์เบอร์นาร์ด   ที่ได้ฉายาว่า  ปีเตอร์-นักพรต คนที่ </span>2 <span lang=\"TH\">พวกกษัตริย์ก็เข้ามามีส่วนร่วมในครั้งนี้ด้วย พระเจ้าหลุยส์ที่ </span>7 <span lang=\"TH\">แห่งฝรั่งเศส ถือเอาสงครามครูเสดเป็นฉากบังหน้า   เพื่อปิดบังซ่อนเร้นการกระทำอันโหดร้ายต่อพลเมืองที่เป็นกบฏต่อพระองค์ กษัตริย์คอนราดที่ </span>3 <span lang=\"TH\">แห่งเยอรมันก็เข้าร่วมทัพด้วย ซึ่งเกิดขึ้นในปี ค.ศ. </span>1147 <span lang=\"TH\">มเหสีของพระเจ้าหลุยส์ที่ </span>7  <span lang=\"TH\">ชื่อ อิเลเนอร์ ( </span>Eleanor of Guienne) <span lang=\"TH\">ซึ่ งต่อมาได้สมรสกับพระเจ้าเฮนรี่ที่ </span>2  <span lang=\"TH\">ของอังกฤษ  ได้เข้าร่วมกองทัพด้วย  ทำให้ผู้หญิงฝรั่งเศส  จำนวนมากอาสาออกรบด้วยอย่างมากมาย  แต่กองทัพของกษัตริย์ทั้ง </span>2  <span lang=\"TH\">ได้รับการต่อต้านและเสียหายอย่างหนัก ส่วนหนึ่งของกองทัพของกษัตริย์คอนราดถูกทำลายที่เมืองลาฎิกียะฮ ( </span>Laodicea <span lang=\"TH\">หรือ</span> Latakia )<span lang=\"TH\">ส่วนของพระเจ้าหลุยส์ที่ </span>7 <span lang=\"TH\">ยกทัพมาทางทะเลถูกโจมตีที่เมืองคัดมุส (</span>Cadmus ) <span lang=\"TH\">พวกตุรกีเรียกว่า บาบาดาฆ  พวกครูเสดนั้นมีกำลังพลมาก จึงรอดเหลือมาถึงเมืองอันติออก ขณะนั้นเรย์มอง( ลุงของราชินีอีเลเนอร์ )ปกครองอยู่ พวกขุนนาง  อัศวินนักรบ  และสตรีผู้สูงศักดิ์อื่น ๆพักอยู่ในเมืองจำนวนมาก พวกครูเสดจึงยกทัพเข้าล้อมเมือง ดามัสกัส แต่ไม่สำเร็จ  เพราะนูรุดดีนและสัยฟุดดีน  ฆอซี  (พี่ชายของนูรุดดีน ) ยกทัพมาช่วย กองทัพของกษัตริย์ทั้งสอง จึงได้เลิกทัพกลับยุโรป พวกครูเสดจึงรู้สึกท้อใจ และต้องล่าทัพกลับเมืองด้วยความผิดหวังและสูญเสียอย่างมาก </span><o:p></o:p></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47198\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726829178, expire = 1726915578, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6c4376ab147a04e44fc5b912600c6e29' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.*. สงครามครูเสดครั้งที่ 2 .*.

 

                 สงครามครูเสดครั้งที่ 2

 

             ลัทธิเจ้าครองนคร (Feudalism) ฟิวดัลลิสม์ ที่พวกครูเสดนำมาใช้ในเอเชียน้อย ( Asia minor ) ได้เผยแพร่เข้าไปสู่พวกสัลยูกเช่นกัน   พวกนี้ต่างแก่งแย่งชิงอำนาจกัน       จนแตกออกเป็นหลายนคร พวกที่ลี้ภัยสงครามครูเสดได้หนีไปกรุงแบกแดดเป็นจำนวนมาก ในขณะนั้นเป็นเดือนเราะมะฎอน เคาะลีฟะฮของแบกแดด ซื่อ มุสตะซิร บิลลาฮ ( ปกครองตั้งแต่ ปี ค.ศ.1094 ถึง ปี ค.ศ.1118) ส่งผู้แทนไปยังสุลฎอน  เพื่อขอความช่วยเหลือจาก บัรกี ยารูก (  คือพวกสัลยูก เป็นบุตรคนที่ 2 ของมาลิกชาฮ  ซึ่งเป็นคนขี้เมา   นำความเสื่อมมาสู่วงศ์สัลยูก ปกครองปี  ค.ศ.1094  ถึง ปี ค.ศ.1140)  เพื่อยกทัพไปปราบครูเสดแต่ไม่ได้รับความช่วยเหลือ

            ปี ค.ศ. 1108 พวกมุสลิมในเมืองตริโปลี ส่งผู้แทนมาขอความช่วยเหลืออีกแต่ก็ไม่ได้ผล   หลังจากนั้นอีก  3  ปี ชาวเมืองอเลปโปส่งผู้แทนออกมาขอความช่วยเหลืออีก หนนี้พวกเขาเข้าไปในมัสญิดและเร่งรัดให้เคาะลีฟะฮ   ส่งกองทัพไปช่วยทางแบกแดดจึงส่งทหารไปจำนวนหนึ่งแต่ถูกพวกครูเสดฆ่าตายหมดสมัยเคาะลีฟะฮ (วงศ์อับบาสิยะฮ) แห่งกรุงแบกแดด   จึงปล่อยให้พวกครูเสดปกครองปาเลสไตน์และเอเชียน้อยบางส่วน เพราะปัญหาความแตกแยกและไม่สามัคคีในหมู่พวกเดียวกันของมุสลิม

             ต่อมา    สมัยเคาะลีฟะฮ อัล-มุกตะ ฟี ( วงศ์อับบาสิยะฮ ปี ค.ศ. 1136 – 1160 )  ชาวสัลยูก ชื่อ  อิมาดุดดิน   ซังงี ( Imaduddin Zangi ) เ  ป็นลูกชายของแม่ทัพสุลฏอนมาลิกซาฮ ชื่อ อักสังการ ฉายาว่า กอลิม อัดเดาละฮเมื่ออักสังการเสียชีวิต ซังงีขณะนั้นอายุเพียง 14 ปีแต่มีความสามารถทางการทหารและการปกครองได้รวบรวมพลฝึกทหารและเข้าตีเมืองต่างๆ   ใน ปี ค.ศ. 1128    ยึดเมืองอเลปโปคืนมาจากพวกครูเสดได้   ในขณะนั้นพวกครูเสดก็ได้รับการสนับสนุนจากยุโรปและกรีก โดยการนำของจักรพรรดิยอน คอมเนนุส  ( John Comnenus)  ยึดเมือง บุซาอะ(Buzaa) ฆ่าพวกผู้ชายแล้วกวาดต้อนผู้หญิงและเด็กไปเป็นทาส

             ซังงี  ได้ยกกองทัพมาช่วยต้านทัพพวกครูเสดไว้ได้   และยึดเมืองเอเดสสา ( Edessa ) หรืออัรรูหะฮ  ได้เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1144  ตอนแรกซังงีคิดจะแก้แค้นให้พวกมุสลิมด้วยกัน   แต่ก็ล้มเลิกความคิดและขอให้ชาวเมืองยอมแพ้   แต่กลับถูกพวกแฟรงค์เยาะเย้ย  ถากถาง  เขาจึงฆ่าทหารและพวกบาทหลวงที่เป็นตัวการในสงครามนี้ แต่ไว้ชีวิตผู้หญิง เด็ก และทรัพย์สินของพวกเขาเหล่านั้น   แต่ในที่สุดแล้วเขาก็ถูกพวกเดียวกันหักหลังโดยการลอบฆ่าเมื่อวันที่5เราะบีอุษษานีย541ตรงกับวันที่14กันยายนปีค.ศ.1146
 

              พวกสัลยูกได้สูญเสียนักรบชาติทหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นคนที่มีใจกล้าหาญ ชอบศึกษาและเผยแพร่ความรู้ ซังงีมีบุตร 4 คน ล้วนมีความสามารถทั้งสิ้น ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์ยุ่งยากนี้ พวกคริสต์ในเมืองเอเดสสาได้เกิดคิดกบฏขึ้น ฆ่าทหารมุสลิมที่รักษาเมือง ซึ่งได้รับการช่วยเหลือจากพวกแฟรงค์ ภายใต้การนำของโยสเซลิน ( Joscelin ) ยึดเมืองเอเดสสาได้ แต่บุตรคนที่ ของซังงีชื่อนูรุดดีน  มะหมูด ( Noradius )   สามารถตีคืนมาได้   พวกอาร์มิเนียนที่เป็นต้นคิดการก่อกบฏ ได้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ ทหารพวกแฟรงค์ถูกฆ่าและนูรุดดีนสั่งให้รื้อกำแพงเมือง

               การสูญเสียเมืองเอเดสสาครั้งที่   2   นี้    ก่อให้เกิดการปลุกระดมให้พวกคริสเตียนหันมาป้องกันสถานกำเนิดแห่งศาสนาของตนโดยนักบุญเซ็นต์เบอร์นาร์ด   ที่ได้ฉายาว่า  ปีเตอร์-นักพรต คนที่ 2 พวกกษัตริย์ก็เข้ามามีส่วนร่วมในครั้งนี้ด้วย พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส ถือเอาสงครามครูเสดเป็นฉากบังหน้า   เพื่อปิดบังซ่อนเร้นการกระทำอันโหดร้ายต่อพลเมืองที่เป็นกบฏต่อพระองค์ กษัตริย์คอนราดที่ 3 แห่งเยอรมันก็เข้าร่วมทัพด้วย ซึ่งเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1147 มเหสีของพระเจ้าหลุยส์ที่ ชื่อ อิเลเนอร์ ( Eleanor of Guienne) ซึ่ งต่อมาได้สมรสกับพระเจ้าเฮนรี่ที่ ของอังกฤษ  ได้เข้าร่วมกองทัพด้วย  ทำให้ผู้หญิงฝรั่งเศส  จำนวนมากอาสาออกรบด้วยอย่างมากมาย  แต่กองทัพของกษัตริย์ทั้ง ได้รับการต่อต้านและเสียหายอย่างหนัก ส่วนหนึ่งของกองทัพของกษัตริย์คอนราดถูกทำลายที่เมืองลาฎิกียะฮ ( Laodicea หรือ Latakia )ส่วนของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ยกทัพมาทางทะเลถูกโจมตีที่เมืองคัดมุส (Cadmus ) พวกตุรกีเรียกว่า บาบาดาฆ  พวกครูเสดนั้นมีกำลังพลมาก จึงรอดเหลือมาถึงเมืองอันติออก ขณะนั้นเรย์มอง( ลุงของราชินีอีเลเนอร์ )ปกครองอยู่ พวกขุนนาง  อัศวินนักรบ  และสตรีผู้สูงศักดิ์อื่น ๆพักอยู่ในเมืองจำนวนมาก พวกครูเสดจึงยกทัพเข้าล้อมเมือง ดามัสกัส แต่ไม่สำเร็จ  เพราะนูรุดดีนและสัยฟุดดีน  ฆอซี  (พี่ชายของนูรุดดีน ) ยกทัพมาช่วย กองทัพของกษัตริย์ทั้งสอง จึงได้เลิกทัพกลับยุโรป พวกครูเสดจึงรู้สึกท้อใจ และต้องล่าทัพกลับเมืองด้วยความผิดหวังและสูญเสียอย่างมาก

 

 

  

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 501 คน กำลังออนไลน์