ภูมิปัญญาไทยเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ

ภูมิปัญญาชาวบ้านเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ

เมือพูดถึงเทคโนโลชีวภาพหลายคนก็จะนึกถึงประเทศสหรัฐอเมริกา หรือภาพของห้องทดองทีมีนักวิทยาศาสตร์คอยตัดต่อพันธุกรรมของสัตว์หรือทำการถ่ายทอดเนื้อเยื่อของพืชรูปร่างแปลกๆ แต่ใครจะรู้ว่าอันที่จริงแล้วประเทศไทยของเรานั้นก็เป็นประเทศหนึ่งที่มีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจำวัน และผู้ที่ใช้แลพัฒนาเทคโนโลยีนั้นก็ไม่ใช่แค่บรรดานักศึกษา หรือนักวิทยาศาสตร์ หากแต่เป็นชาวบ้านในท้องถิ่นโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่หาได้ใกล้ๆ ตัว แต่ความคิดแบบชาวบ้านของพวกเขากอิงหลักการทางวิทยาศาสตร์ รวมทังเป็นบันไดสำคัญที่ทำให้เทคโนโลยีชีวภาพก้าวหน้าไปไกลขึ้น

ภูมิปัญญาชาวบ้านของไทยนั้น เป็นการใช้เทคโนโลยีดั้งเดิมที่ชาวบ้านใช้เพื่อยังชีพ ใช้ว้สดุอุปกรณ์และทรัพยากร และใช้แรงงานในท้องถิ่นในการที่ภูมิปัญญาเหล่านั้นจะพัฒนาได้นั้นจะต้องอาศัยนักพัฒนามาเป็นส่วนร่วมในการนำเทคโนโลยีมาแนะนำให้ชาวบ้านได้มีความรู้และเข้าใจถึงการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆที่ใช้ในการทำสินค้า แต่ในปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมของชาวชนบทจะพึ่งพาแต่เทคโนโลยีในระดับพื้นบ้าน ชาวชนบทจำเป็นจะต้องเลือกใช้และปรับปรุงเทคโนโลยีบางชนิดให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น โดยเฉพาะในการเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานซึ่งขึ้นอยู่กับความรู้ และทักษะจากแหล่งภายนอก ดังนั้นภูมิปัญญาชาวบ้านจำเป็นจะต้องอาศัยเทคโนโลยีมาประกอบเพื่อเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น

ตัวอย่างภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีผลต่อเทคโนโลยีชีวภาพ

เทคโนโลยีการยืดอายุผัก-ผลไม้

เทคโนโลยีการปลูกอินทผาลัม

สร้างโดย: 
คุณครูจุฑารัตน์ จริงธนสารและนางสาวพิชญา เปลี่ยนศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 359 คน กำลังออนไลน์