• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:80b64a3114fa1b7ad8ea3bf8b94aeb00' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #daf3a4\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u20258/banner1.gif\" height=\"225\" /></span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #daf3a4\"></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #daf3a4\">นายกรัฐมนตรีคนที่ 6</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"><strong><u>หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช</u></strong>  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"360\" src=\"http://www.bloggang.com/data/bestsalt/picture/1139926054.jpg\" height=\"509\" style=\"width: 170px; height: 236px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ภาพจาก : <a href=\"http://www.bloggang.com/data/bestsalt/picture/1139926054.jpg\">http://www.bloggang.com/data/bestsalt/picture/1139926054.jpg</a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"><strong>ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">    สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 13 : 17 กันยายน 2488 - 31 มกราคม 2489  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">     สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 : 15 กุมภาพันธ์ 2518 - 13 มีนาคม 2518  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">     สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 37 : 20 เมษายน 2519 - 23 กันยายน 2519  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">สมัยที่ 4 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 : 25 กันยายน 2519 - 6 ตุลาคม 2519 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #daf3a4\">ประวัติ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2448 เวลา 04.00 น. </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบกับหม่อมแดง (บุนนาค) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">สมรสกับท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> เริ่มศึกษาที่โรงเรียนราชินี โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนเทพศิรินทร์ และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตามลำดับ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">จากนั้นเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเทร้นท์ ประเทศอังกฤษ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ต่อจากนั้นที่วูซเตอร์ คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ได้รับปริญญาตรีด้านกฎหมาย เกียรตินิยมอันดับ 2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่สำนักเนติบัณฑิตอังกฤษ ณ สำนักเกรย์อินน์ ลอนดอน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">สอบไล่เนติบัณฑิตอังกฤษได้คะแนนยอดเยี่ยม ชั้น 1 จึงได้รับพระราชทานรางวัลจากพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">เมื่อเดินทางกลับมายังประเทศไทย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ได้ศึกษาวิชากฎหมายไทย จนกระทั่งได้รับ เนติบัณฑิตไทย และเข้าฝึกงานที่ศาลฎีกาเป็นเวลา 6 เดือน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">จึงได้เป็นผู้พิพากษา ต่อมาย้ายไปเป็นผู้พิพากษาศาลแพ่ง ผู้ช่วยกรรมการศาลฎีกาและผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ตามลำดับ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ช่วงหลังของการรับราชการได้ย้ายไปกระทรวงการต่างประเทศ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> และไดัรับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ในปี พ.ศ. 2484 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเข้าสู่ประเทศไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้ประกาศนโยบายเป็นอิสระไม่ขึ้นกับรัฐบาลในประเทศไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">และได้รวบรวมคนไทยในต่างประเทศจัดตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นเพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">โดยปฏิบัติการติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ได้เดินทางกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2488</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> ในช่วงที่ดำรงตำแหน่ง ท่านได้ปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ซึ่งครั้งแรกอังกฤษได้ยื่นข้อเรียกร้องให้ประเทศไทยเป็นเมืองในอาณัติของอังกฤษ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">แต่หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้ดำเนินการเจรจาให้ไทยได้ หลุดพ้นจากการเป็นเมืองในอาณัติได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">และจำเป็นต้องประกาศพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> เพื่อลงโทษผู้นำหรือ หัวหน้ารัฐบาลที่ร่วมก่อให้เกิดสงครามและต้องเป็นฝ่ายปราชัย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ถ้าหากรัฐบาลไม่ตราพระราชบัญญัตินี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรก็จะนำตัวผู้ต้องหาเป็นอาชญากรสงครามไปดำเนินคดีในต่างประเทศ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หมุนเวียนดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 4 ครั้ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">ซึ่งครั้งสุดท้ายได้เกิดเหตุการณ์วุ่นวายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">และพลเรือเอก สงัด  ชลออยู่ รน. ได้จัดตั้งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินเข้ายึดอำนาจ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\"> หลังจากพ้นตำแหน่งแล้ว หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">และวางมือจากการเมือง ใช้ชีวิตสงบเงียบตลอดมา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #daf3a4\">และได้ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2540  รวมอายุได้ 92 ปีเศษ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/43422\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u20258/Untitled6.jpg\" height=\"52\" /></a><a href=\"/node/49354\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u20258/Untitled5.jpg\" height=\"52\" /></a>\n</p>\n', created = 1726836671, expire = 1726923071, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:80b64a3114fa1b7ad8ea3bf8b94aeb00' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คนที่ 6 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

นายกรัฐมนตรีคนที่ 6

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 

 


ภาพจาก : http://www.bloggang.com/data/bestsalt/picture/1139926054.jpg 

ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 

    สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 13 : 17 กันยายน 2488 - 31 มกราคม 2489  

     สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 : 15 กุมภาพันธ์ 2518 - 13 มีนาคม 2518  

     สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 37 : 20 เมษายน 2519 - 23 กันยายน 2519  

สมัยที่ 4 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 : 25 กันยายน 2519 - 6 ตุลาคม 2519

ประวัติ

 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2448 เวลา 04.00 น.

เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบกับหม่อมแดง (บุนนาค)

สมรสกับท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช

 เริ่มศึกษาที่โรงเรียนราชินี โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนเทพศิรินทร์ และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตามลำดับ

จากนั้นเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเทร้นท์ ประเทศอังกฤษ

ต่อจากนั้นที่วูซเตอร์ คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ได้รับปริญญาตรีด้านกฎหมาย เกียรตินิยมอันดับ 2

จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่สำนักเนติบัณฑิตอังกฤษ ณ สำนักเกรย์อินน์ ลอนดอน

สอบไล่เนติบัณฑิตอังกฤษได้คะแนนยอดเยี่ยม ชั้น 1 จึงได้รับพระราชทานรางวัลจากพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ 

เมื่อเดินทางกลับมายังประเทศไทย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ได้ศึกษาวิชากฎหมายไทย จนกระทั่งได้รับ เนติบัณฑิตไทย และเข้าฝึกงานที่ศาลฎีกาเป็นเวลา 6 เดือน

จึงได้เป็นผู้พิพากษา ต่อมาย้ายไปเป็นผู้พิพากษาศาลแพ่ง ผู้ช่วยกรรมการศาลฎีกาและผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ ตามลำดับ

ช่วงหลังของการรับราชการได้ย้ายไปกระทรวงการต่างประเทศ

 และไดัรับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา 

ในปี พ.ศ. 2484 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเข้าสู่ประเทศไทย

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้ประกาศนโยบายเป็นอิสระไม่ขึ้นกับรัฐบาลในประเทศไทย

และได้รวบรวมคนไทยในต่างประเทศจัดตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้นเพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ

โดยปฏิบัติการติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร

 เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ได้เดินทางกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2488

 ในช่วงที่ดำรงตำแหน่ง ท่านได้ปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตร

ซึ่งครั้งแรกอังกฤษได้ยื่นข้อเรียกร้องให้ประเทศไทยเป็นเมืองในอาณัติของอังกฤษ

แต่หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้ดำเนินการเจรจาให้ไทยได้ หลุดพ้นจากการเป็นเมืองในอาณัติได้

และจำเป็นต้องประกาศพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม

 เพื่อลงโทษผู้นำหรือ หัวหน้ารัฐบาลที่ร่วมก่อให้เกิดสงครามและต้องเป็นฝ่ายปราชัย

ถ้าหากรัฐบาลไม่ตราพระราชบัญญัตินี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรก็จะนำตัวผู้ต้องหาเป็นอาชญากรสงครามไปดำเนินคดีในต่างประเทศ 

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หมุนเวียนดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 4 ครั้ง

ซึ่งครั้งสุดท้ายได้เกิดเหตุการณ์วุ่นวายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519

และพลเรือเอก สงัด  ชลออยู่ รน. ได้จัดตั้งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินเข้ายึดอำนาจ

 หลังจากพ้นตำแหน่งแล้ว หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์

และวางมือจากการเมือง ใช้ชีวิตสงบเงียบตลอดมา

และได้ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2540  รวมอายุได้ 92 ปีเศษ

 

สร้างโดย: 
คุณครูวิรัติ พนารัตน์ และ นางสาวชวิศา จาตุรมาน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 461 คน กำลังออนไลน์