• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8e6c8be8a556a8b11b4d34ba5c0c267c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">นายชวน หลีกภัย</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"292\" src=\"/files/u19235/60.jpg\" height=\"343\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ที่มาของรูป : <a href=\"http://202.122.40.26/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/images/parliament/60.jpg\">http://202.122.40.26/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/images/parliament/60.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><strong>นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 นายชวน หลีกภัย</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง <br />\nสมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 : 23 กันยายน 2535 - 12 กรกฎาคม 2538<br />\nสมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 53 : 9 พฤศจิกายน 2540 - 17 พฤศจิกายน 2543</span><br />\n \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">ประวัติ </span></strong>\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #993366\">นายชวน หลีกภัย เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2481 ที่ตำบลท้ายพรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง จบการศึกษาระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนตรังวิทยา จังหวัดตรัง แล้วเข้าศึกษาต่อ ที่โรงเรียนศิลปศึกษาแผนก จิตรกรรมและประติมากรรม (เตรียมหาวิทยาลัยศิลปากร) และได้ สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ สำเร็จเป็นนิติศาสตร์บัณฑิต เมื่อปี 2505 และสอบได้เนติบัณฑิตไทย ในสมัยที่ 17 ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี 2528 และดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามคำแหง ปี 2530 นายชวน หลีกภัย เริ่มงานอาชีพทนายความที่สำนักงานทนายความ ช.ชนะสงคราม หลังสำเร็จการศึกษาและเบนเข็มมาสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จังหวัดตรัง เมื่อปี 2512 ได้รับเลือกตลอดมาจนปัจจุบัน รวม 11 สมัย คือปี 2512, 2518, 2519, 2522, 2526, 2529, 2531, 2535 (2สมัย), 2538, 2539 ในงานการเมืองเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและประธานสภาผู้แทนราษฎร เริ่มด้วยตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมในปี 2518 รัฐมนตรีประจำ สำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2519 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ปี 2523 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ ปี 2524 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2525 - 2526 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปี 2526 - 2529 ประธานสภาผู้แทนราษฎร ปี 2529 - 2531 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2531 - 2532 รองนายกรัฐมนตรี ปี 2532 - 2533 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2533 <br />\n      นอกจากตำแหน่งทางการเมือง นายชวน หลีกภัย ยังเข้ารับตำแหน่งอื่น ๆ อีกดังนี้ เป็นอุปนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์อาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2535 พรรคการเมือง 5 พรรค อันประกอบด้วยพรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม และพรรคเอกภาพ ได้ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลและสนับสนุนให้นายชวน หลีกภัย ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 การดำเนินการตามนโยบายที่สำคัญที่รัฐบาลนี้ เน้นเป็นพิเศษ(ในช่วงนั้น) ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ การกระจาย ความเจริญไปสู่ภูมิภาคและชนบท <br />\n     ซึ่งเน้นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสและกระจายอำนาจ ในการปกครองตนเองให้กับท้องถิ่น อย่างไรก็ตามการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล ซึ่งมีนายชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงปี 2535 ถึงกลางปี 2538 โดยเฉพาะในประเด็น เรื่องของการดำเนินการตามนโยบายจัดหาที่ดินทำกินให้กับราษฎร ให้เฉพาะกรณีการออก เอกสารสิทธิที่เรียกว่า ส.ป.ก. 4 - 01 ปัญหานี้กลายเป็นประเด็นที่ทำให้รัฐบาลถูกวิพากษ์วิจารณ์ อย่างมาก จนในที่สุด ได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2538 และกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 2 กรกฎาคม 2538 ผลการเลือกตั้งครั้งนั้น นายบรรหาร ศิลปอาชา ในฐานะที่เป็นห้วหน้าพรรคการเมืองที่มีสมาชิกของพรรคได้รับเลือกตั้ง มากที่สุด ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล ต่อมาเมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้ง ในสมัยนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อปลายปี 2539 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี คนต่อไป จนกระทั้งเกิดวิกฤติการณ์ด้านเศรษฐกิจ ทำให้พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ต้องประกาศ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทำให้รัฐบาลของพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ สิ้นสภาพลงด้วย นายชวน หลีกภัย ในฐานะที่ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร จึงได้รับ การเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรีแทน โดยได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 ถือได้ว่าเป็นนายกรัฐมนตรี ที่มาจากการเลือกตั้งคนแรกของประเทศไทยที่ได้กลับเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็นสมัยที่ 2 ความเป็นนายกรัฐมนตรีของ นายชวน หลีกภัย สิ้นสุดลง เนื่องจากมีพระบรมราชโองการ ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๓</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993366\">      <a href=\"/node/49602\"><span style=\"color: #ff00ff\">กลับหน้าแรก</span></a>    <img src=\"http://www.yenta4.com/webboard/upload_images/1051494_3475288.gif\" /></span><span style=\"color: #993366\"> </span><span style=\"color: #993366\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727909715, expire = 1727996115, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8e6c8be8a556a8b11b4d34ba5c0c267c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

20

นายชวน หลีกภัย

ที่มาของรูป : http://202.122.40.26/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/images/parliament/60.jpg

นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 นายชวน หลีกภัย


ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 : 23 กันยายน 2535 - 12 กรกฎาคม 2538
สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 53 : 9 พฤศจิกายน 2540 - 17 พฤศจิกายน 2543

 

ประวัติ

      นายชวน หลีกภัย เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2481 ที่ตำบลท้ายพรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง จบการศึกษาระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนตรังวิทยา จังหวัดตรัง แล้วเข้าศึกษาต่อ ที่โรงเรียนศิลปศึกษาแผนก จิตรกรรมและประติมากรรม (เตรียมหาวิทยาลัยศิลปากร) และได้ สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ สำเร็จเป็นนิติศาสตร์บัณฑิต เมื่อปี 2505 และสอบได้เนติบัณฑิตไทย ในสมัยที่ 17 ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี 2528 และดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามคำแหง ปี 2530 นายชวน หลีกภัย เริ่มงานอาชีพทนายความที่สำนักงานทนายความ ช.ชนะสงคราม หลังสำเร็จการศึกษาและเบนเข็มมาสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จังหวัดตรัง เมื่อปี 2512 ได้รับเลือกตลอดมาจนปัจจุบัน รวม 11 สมัย คือปี 2512, 2518, 2519, 2522, 2526, 2529, 2531, 2535 (2สมัย), 2538, 2539 ในงานการเมืองเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและประธานสภาผู้แทนราษฎร เริ่มด้วยตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมในปี 2518 รัฐมนตรีประจำ สำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2519 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ปี 2523 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ ปี 2524 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2525 - 2526 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปี 2526 - 2529 ประธานสภาผู้แทนราษฎร ปี 2529 - 2531 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2531 - 2532 รองนายกรัฐมนตรี ปี 2532 - 2533 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2533
      นอกจากตำแหน่งทางการเมือง นายชวน หลีกภัย ยังเข้ารับตำแหน่งอื่น ๆ อีกดังนี้ เป็นอุปนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์อาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2535 พรรคการเมือง 5 พรรค อันประกอบด้วยพรรคประชาธิปัตย์ พรรคความหวังใหม่ พรรคพลังธรรม พรรคกิจสังคม และพรรคเอกภาพ ได้ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลและสนับสนุนให้นายชวน หลีกภัย ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 การดำเนินการตามนโยบายที่สำคัญที่รัฐบาลนี้ เน้นเป็นพิเศษ(ในช่วงนั้น) ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ การกระจาย ความเจริญไปสู่ภูมิภาคและชนบท
     ซึ่งเน้นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสและกระจายอำนาจ ในการปกครองตนเองให้กับท้องถิ่น อย่างไรก็ตามการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล ซึ่งมีนายชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงปี 2535 ถึงกลางปี 2538 โดยเฉพาะในประเด็น เรื่องของการดำเนินการตามนโยบายจัดหาที่ดินทำกินให้กับราษฎร ให้เฉพาะกรณีการออก เอกสารสิทธิที่เรียกว่า ส.ป.ก. 4 - 01 ปัญหานี้กลายเป็นประเด็นที่ทำให้รัฐบาลถูกวิพากษ์วิจารณ์ อย่างมาก จนในที่สุด ได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2538 และกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 2 กรกฎาคม 2538 ผลการเลือกตั้งครั้งนั้น นายบรรหาร ศิลปอาชา ในฐานะที่เป็นห้วหน้าพรรคการเมืองที่มีสมาชิกของพรรคได้รับเลือกตั้ง มากที่สุด ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล ต่อมาเมื่อได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้ง ในสมัยนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อปลายปี 2539 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี คนต่อไป จนกระทั้งเกิดวิกฤติการณ์ด้านเศรษฐกิจ ทำให้พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ต้องประกาศ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทำให้รัฐบาลของพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ สิ้นสภาพลงด้วย นายชวน หลีกภัย ในฐานะที่ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร จึงได้รับ การเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรีแทน โดยได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 ถือได้ว่าเป็นนายกรัฐมนตรี ที่มาจากการเลือกตั้งคนแรกของประเทศไทยที่ได้กลับเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็นสมัยที่ 2 ความเป็นนายกรัฐมนตรีของ นายชวน หลีกภัย สิ้นสุดลง เนื่องจากมีพระบรมราชโองการ ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๓

      กลับหน้าแรก   

 

สร้างโดย: 
อ.มาลัยวรรณ จันทร และ นางสาว โอปอล อิสระธานันท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 437 คน กำลังออนไลน์