• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('วลีเด็ดจากหนัง หมวด ชีวิต ', 'node/94148', '', '3.14.141.17', 0, 'bb1dd5f43d69230b3889803f4955f1df', 135, 1715801923) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:028e4a520d87f25ea7ac00c1a294d795' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #003366; background-color: #ccffff\">นายอานันท์ ปันยารชุน</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"283\" src=\"/files/u19235/Activities_pic0050041.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 269px; height: 365px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">ที่มาของรูป : <a href=\"http://www.thai-school.net/images/Activities_pic0050041.jpg\">http://www.thai-school.net/images/Activities_pic0050041.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080; background-color: #ccffff\"><strong>นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 นายอานันท์ ปันยารชุน</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><br />\nระยะเวลาดำรงตำแหน่ง <br />\nสมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 47 : 2 มีนาคม 2534 - 22 มีนาคม 2535 <br />\nสมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 49 : 10 มิถุนายน 2535 - 22 กันยายน 2535            <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">        นายอานันท์ ปันยารชุน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2475 เข้ารับการศึกษาระดับมัธยมที่กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลายที่ดัลลิช คอลเลจ ประเทศอังกฤษ และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้ปริญญาตรี(เกียรตินิยม) สาขากฎหมาย ในปี 2498เข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศในปี 2498 ระหว่างปี 2502 - 2507 เป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้รับตำแหน่งเลขานุการเอกคณะทูตถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ในปี 2507 และต่อมาในปี 2510 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ และเอกอัครราชทูตประจำประเทศแคนาดา จนถึงปี 2515 ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกาและผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ตั้งแต่ปี 2515 – 2518<br />\n        นายอานันท์ ได้กลับมารับตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เมื่อปี 2519 และตำแหน่งสุดท้ายทางราชการคือ เอกอัครราชทูตประจำสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างปี 2520 - 2521 นายอานันท์ลาออกจากกระทรวงการต่างประเทศในปี 2522 และเข้าร่วมงานกับกลุ่มบริษัทสหยูเนี่ยน จำกัดนายอานันท์ได้รับตำแหน่งอุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมไทยตั้งแต่ปี 2523 เมื่อสมาคมอุตสาหกรรมไทยยกฐานะขึ้นเป็นสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในปลายปี 2530 <br />\n       นายอานันท์ก็ได้รับเลือกตั้งเป็นรองประธานสภาฯ และในเดือนเมษายน 2533 ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานสภาฯ ดำรงตำแหน่งตามวาระเป็นเวลา 2 ปีนายอานันท์ ดำรงตำแหน่งประธานคณะมนตรีหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเชียนระหว่างปี 2525 - 2527 และระหว่างปี 2525 -2526 เป็นประธาน ASEAN Task Force ในเรื่องความร่วมมือของอาเซียนอันประกอบด้วยบุคคล 15 คน จากทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐบาลอาเซียนระหว่างเดือนพฤษภาคม 2529 ถึง มกราคม 2534 เป็นประธานฝ่ายอาเซียนในคณะมนตรีอาเซียนสหรัฐอเมริกานายอานันท์ เป็นกรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิของสภาสถาบันบัณฑิตพัฒน-บริหารศาสตร์ กรรมการสภาสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรรมการสภาที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิต-บริหารธุรกิจศศินทร์ กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอ.ไอ.ที) และกรรมการศูนย์การแลกเปลี่ยนทางเทคโนโลยี สหรัฐ - อาเซียน ในเดือนตุลาคม 2533 ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ The World Management Council (CLOS) และในเดือนมกราคม 2534 รับเป็นกรรมการ The Business Council for Sustainable Development (BCSD)นายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหาร บริษัท สหยูเนี่ยน จำกัด ระหว่างปี 2528 - 2533 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริษัท สหยูเนี่ยน จำกัด ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2534 <br />\n        ในวันที่ 2 มีนาคม 2534 นายอานันท์ ปันยารชุน ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทยลำดับที่ 18 รัฐบาลซึ่งมี นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีได้สร้างผลงานที่สำคัญไว้หลายประการ คือ การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การปรับปรุงประสิทธิภาพ ระบบข้าราชการ การริเริ่มที่จะจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน การส่งเสริมตลาดทุน การส่งเสริมการแข่งขันโดย เสรีในอุตสาหกรรมนโยบายการค้าเสรีภายใต้การแข่งขันอย่างเป็นธรรม การนำภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการค้า การปรับปรุง การสรรพสามิตให้สอดคล้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม การให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในการพัฒนารัฐวิสาหกิจมากขึ้น การเป็นเจ้าภาพการประชุมสภาผู้ว่าการธนาคารโลก และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ครั้ง 46 ประจำปี 2534 การพัฒนาชนบท การพัฒนาการเกษตรและการปฏิรูปที่ดิน การเร่งรัดโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรศัพท์และโทรคมนาคม การปรับปรุงท่าอากาศยานกรุงเทพแห่งที่ 2 การดำเนินการขยายโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาระบบอุดมศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การแยกรัฐวิสาหกิจออกจากกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม การสำรวจผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงานภารกิจที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2535 โดยได้ริเริ่มจัดตั้งองค์กรกลางเพื่อสอดส่องดูแลการเลือกตั้งให้บริสุทธิ์ยุติธรรมมากขึ้นนายอานันท์ ปันยารชุน พันจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2535 เมื่อมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2535 และต่อจากนั้นได้รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจวบจนกระทั่งพลเอก สุจินดา คราประยูร และคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ได้เริ่มปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2535 ต่อมาเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2535 พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอันเนื่องมาจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและเหตุการณ์ไม่สงบภายในประเทศ <br />\n       จึงได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้นายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 เพื่อแก้ปัญหาของบ้านเมืองและบริหารราชการมาจนกระทั่งมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วประเทศในวันที่ 13 กันยายน 2535 และพ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2535 เนื่องจากมีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ในวันที่ 23 กันยายน 2535 หลังจากนั้น นายอานันท์  ปันยารชุน ได้หวนกลับคืนสู่ภาคธุรกิจอีกครั้งในด้านการปฏิรูปการเมืองนั้น นายอานันท์  ปันยารชุน ได้มีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540  และด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทในการรณรงค์ส่งเสริมประชาธิปไตยและการปราบปรามการคอร์รัปชั่นมาอย่างต่อเนื่องทำให้ท่านได้รับรางวัลแม็กไซไซ สาขารัฐบริการ จากมูลนิธิรางวัลรามอนแม็กไซไซ และยังได้รับรางวัล &quot;บุคคลแห่งปี ประจำปี 2540&quot; อีกด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008080\"><img src=\"http://www.yenta4.com/webboard/upload_images/1051494_3475284.gif\" />  <a href=\"/node/49602\"><span style=\"color: #008000\">กลับหน้าแรก</span></a></span><span style=\"color: #008080\"> </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715801935, expire = 1715888335, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:028e4a520d87f25ea7ac00c1a294d795' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

18

นายอานันท์ ปันยารชุน

 

ที่มาของรูป : http://www.thai-school.net/images/Activities_pic0050041.jpg

นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 นายอานันท์ ปันยารชุน


ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 47 : 2 มีนาคม 2534 - 22 มีนาคม 2535
สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 49 : 10 มิถุนายน 2535 - 22 กันยายน 2535           

        นายอานันท์ ปันยารชุน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2475 เข้ารับการศึกษาระดับมัธยมที่กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลายที่ดัลลิช คอลเลจ ประเทศอังกฤษ และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้ปริญญาตรี(เกียรตินิยม) สาขากฎหมาย ในปี 2498เข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศในปี 2498 ระหว่างปี 2502 - 2507 เป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้รับตำแหน่งเลขานุการเอกคณะทูตถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ในปี 2507 และต่อมาในปี 2510 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ และเอกอัครราชทูตประจำประเทศแคนาดา จนถึงปี 2515 ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกาและผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ตั้งแต่ปี 2515 – 2518
        นายอานันท์ ได้กลับมารับตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เมื่อปี 2519 และตำแหน่งสุดท้ายทางราชการคือ เอกอัครราชทูตประจำสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างปี 2520 - 2521 นายอานันท์ลาออกจากกระทรวงการต่างประเทศในปี 2522 และเข้าร่วมงานกับกลุ่มบริษัทสหยูเนี่ยน จำกัดนายอานันท์ได้รับตำแหน่งอุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมไทยตั้งแต่ปี 2523 เมื่อสมาคมอุตสาหกรรมไทยยกฐานะขึ้นเป็นสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในปลายปี 2530
       นายอานันท์ก็ได้รับเลือกตั้งเป็นรองประธานสภาฯ และในเดือนเมษายน 2533 ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานสภาฯ ดำรงตำแหน่งตามวาระเป็นเวลา 2 ปีนายอานันท์ ดำรงตำแหน่งประธานคณะมนตรีหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเชียนระหว่างปี 2525 - 2527 และระหว่างปี 2525 -2526 เป็นประธาน ASEAN Task Force ในเรื่องความร่วมมือของอาเซียนอันประกอบด้วยบุคคล 15 คน จากทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐบาลอาเซียนระหว่างเดือนพฤษภาคม 2529 ถึง มกราคม 2534 เป็นประธานฝ่ายอาเซียนในคณะมนตรีอาเซียนสหรัฐอเมริกานายอานันท์ เป็นกรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิของสภาสถาบันบัณฑิตพัฒน-บริหารศาสตร์ กรรมการสภาสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรรมการสภาที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิต-บริหารธุรกิจศศินทร์ กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอ.ไอ.ที) และกรรมการศูนย์การแลกเปลี่ยนทางเทคโนโลยี สหรัฐ - อาเซียน ในเดือนตุลาคม 2533 ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ The World Management Council (CLOS) และในเดือนมกราคม 2534 รับเป็นกรรมการ The Business Council for Sustainable Development (BCSD)นายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหาร บริษัท สหยูเนี่ยน จำกัด ระหว่างปี 2528 - 2533 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริษัท สหยูเนี่ยน จำกัด ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2534
        ในวันที่ 2 มีนาคม 2534 นายอานันท์ ปันยารชุน ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทยลำดับที่ 18 รัฐบาลซึ่งมี นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีได้สร้างผลงานที่สำคัญไว้หลายประการ คือ การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การปรับปรุงประสิทธิภาพ ระบบข้าราชการ การริเริ่มที่จะจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน การส่งเสริมตลาดทุน การส่งเสริมการแข่งขันโดย เสรีในอุตสาหกรรมนโยบายการค้าเสรีภายใต้การแข่งขันอย่างเป็นธรรม การนำภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการค้า การปรับปรุง การสรรพสามิตให้สอดคล้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม การให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในการพัฒนารัฐวิสาหกิจมากขึ้น การเป็นเจ้าภาพการประชุมสภาผู้ว่าการธนาคารโลก และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ครั้ง 46 ประจำปี 2534 การพัฒนาชนบท การพัฒนาการเกษตรและการปฏิรูปที่ดิน การเร่งรัดโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรศัพท์และโทรคมนาคม การปรับปรุงท่าอากาศยานกรุงเทพแห่งที่ 2 การดำเนินการขยายโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาระบบอุดมศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การแยกรัฐวิสาหกิจออกจากกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม การสำรวจผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงานภารกิจที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2535 โดยได้ริเริ่มจัดตั้งองค์กรกลางเพื่อสอดส่องดูแลการเลือกตั้งให้บริสุทธิ์ยุติธรรมมากขึ้นนายอานันท์ ปันยารชุน พันจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2535 เมื่อมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2535 และต่อจากนั้นได้รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจวบจนกระทั่งพลเอก สุจินดา คราประยูร และคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ได้เริ่มปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2535 ต่อมาเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2535 พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอันเนื่องมาจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและเหตุการณ์ไม่สงบภายในประเทศ
       จึงได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้นายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 เพื่อแก้ปัญหาของบ้านเมืองและบริหารราชการมาจนกระทั่งมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วประเทศในวันที่ 13 กันยายน 2535 และพ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2535 เนื่องจากมีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ในวันที่ 23 กันยายน 2535 หลังจากนั้น นายอานันท์  ปันยารชุน ได้หวนกลับคืนสู่ภาคธุรกิจอีกครั้งในด้านการปฏิรูปการเมืองนั้น นายอานันท์  ปันยารชุน ได้มีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540  และด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทในการรณรงค์ส่งเสริมประชาธิปไตยและการปราบปรามการคอร์รัปชั่นมาอย่างต่อเนื่องทำให้ท่านได้รับรางวัลแม็กไซไซ สาขารัฐบริการ จากมูลนิธิรางวัลรามอนแม็กไซไซ และยังได้รับรางวัล "บุคคลแห่งปี ประจำปี 2540" อีกด้วย

  กลับหน้าแรก

 

สร้างโดย: 
อ.มาลัยวรรณ จันทร และ นางสาว โอปอล อิสระธานันท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 261 คน กำลังออนไลน์