• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:138f9a0d14e86cd47a56348f9e570bbe' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18480/banner2.gif\" height=\"113\" width=\"450\" />\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<a href=\"/node/40807\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18480/home.gif\" style=\"width: 75px; height: 78px\" height=\"300\" width=\"300\" /></a><a href=\"/node/40844\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18480/menu.gif\" style=\"width: 75px; height: 77px\" height=\"300\" width=\"300\" /></a>                                                                                             \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">โครงสร้างของลำต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc\">1.โครงสร้างภายในของปลายยอดพืช</span> <br />\nบริเวณปลายยอดพืชสามารถแบ่งออกเป็นบริเวณ(region/zone)  ได้ทั้งหมด 3 บริเวณด้วยกันคือ\n</p>\n<p>\n               1.บริเวณเซลล์แบ่งตัว(region of cell division)<br />\n               2.บริเวณเซลล์ยืดตัว(region of cell elongation)<br />\n               3.บริเวณเซลล์เจริญเต็มที่ (region of maturation)\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"background-color: #ff99cc\">2.โครงสร้างภายในของลำต้นที่ตัดตามขวาง <br />\n</span>                เมื่อนำปลายยอดของพืชมาตัดตามขวางบริเวณเซลล์เจริญเต็มที่จะพบว่าโครงสร้างภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆตามแต่ชนิดของพืชโดยแบ่งได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n      <span style=\"background-color: #ccffff\">2.1.โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff\"><br />\n</span>               <span style=\"background-color: #cc99ff\">epidermis  <br />\n</span>               เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น  ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว  พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair  และ  guard cell  <br />\n                ในต้นพืชที่อายุมากส่วนใหญ่แล้วส่วนของ epidermis จะหลุดหายไปเพราะถูกแทนที่ด้วยส่วนของคอร์ก\n</p>\n<p>\n               <span style=\"background-color: #cc99ff\">cortex (คอร์เทกซ์)<br />\n</span>               คอร์เทกซ์เป็นชั้นของลำต้นที่มีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ epidermis เข้ามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส(endodermis)  ดังนั้นในชั้นคอร์เทกซ์จึงประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆได้แก่ \n</p>\n<p><table border=\"0\" style=\"width: 80.64%; height: 144px\" align=\"center\">\n<tbody>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #0000ff\"> ชนิด</span></td>\n<td><span style=\"color: #0000ff\"> รายละเอียด และ หน้าที่</span></td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 10px\">\n<td> parenchyma  </td>\n<td> เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ที่พบภายในลำต้น </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> chlorenchyma  </td>\n<td> ทำหน้าที่ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> aerenchyma </td>\n<td> ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสะสมอากาศ  โดยเฉพาะพืชน้ำ </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> collenchyma</td>\n<td> เพิ่มความแข็งแรงให้แก่ลำต้น </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> sclerenchyma(fiber)</td>\n<td> ให้ความแข็งแรงแก่ลำต้น </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n                <span style=\"background-color: #cc99ff\">stele (สตีล)</span><br />\n                สตีลเป็นชั้นที่ถัดเข้ามาจากชั้นคอร์เทกซ์  โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ endodermis เข้ามาจนถึงใจกลางของลำต้น  แต่เนื่องจากในลำต้นเนื้อเยื่อ endodermis ส่วนใหญ่เห็นได้ไม่ชัดเจนหรือหนังสือบางเล่มก็กล่าวว่าในลำต้นจะไม่มีเนื้อเยื่อ endodermis  ทำให้ชั้นสตีลในลำต้นแบ่งแยกออกจากชั้นคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจนเหมือนในส่วนของรากพืช  ภายในชั้นสตีลจะประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่สำคัญคือ\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"background-color: #c0c0c0\">vascular bundle</span>  หมายถึงกลุ่มของเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียง  <br />\nภายในเนื้อเยื่อ vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงคู่ประกอบด้วย กลุ่มเนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร(phloem)เรียงตัวอยู่ทางด้านนอกและกลุ่มเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ(xylem)เรียงตัวอยู่ทางด้านในหรือด้านที่ติดกับ pith  ระหว่าง xylem กับ phloem จะมีเนื้อเยื่อเจริญที่เรียกว่า vascular  cambium คั่นกลางอยู่ทำหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อให้กำเนิด xylem และ phloem\n</p>\n<p>\n                   <span style=\"background-color: #c0c0c0\">pith</span>   เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลำต้น  ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท <br />\nparenchyma  จึงทำหน้าที่ในการสะสมสารต่างๆ  ลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิดเนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลำต้น  เรียกช่องนี้ว่า  pith cavity \n</p>\n<p>\n<br />\n        <span style=\"background-color: #ccffff\">2.2โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff\"><br />\n</span>               <span style=\"background-color: #cc99ff\">epidermis </span> <br />\n               เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภาย ในของลำต้น  ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียวและมีอยู่ตลอดไป ยกเว้นใน   ต้นพืชตระกูลปาล์มจะมีเฉพาะในปีแรกเท่านั้นเพราะต่อมาจะมีเนื้อเยื่อคอร์ก (cork) มาแทน<br />\n                <span style=\"background-color: #cc99ff\">cortex</span><br />\n                มีเนื้อเยื่อบางๆ1-2 ชั้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อชนิด parenchyma  และส่วนใหญ่ไม่พบ endodermis ทำให้อาณาเขตแบ่งได้ไม่ชัดเจน\n</p>\n<p>\n<br />\n               <span style=\"background-color: #cc99ff\"> stele <br />\n</span>                    <span style=\"background-color: #c0c0c0\">vascular bundle <br />\n</span>                    กลุ่มของเนื้อเยื่อลำเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ส่วนของ xylem, phloem จะเรียงตัวกันมองคล้ายๆใบหน้าคน  มีส่วนของ vessel อยู่บริเวณคล้ายดวงตา  ส่วน phloem อยู่บริเวณคล้ายหน้าผาก   xylem และ phloem จะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma หรืออาจเป็น sclerenchyma  และเรียกเซลล์ที่มาล้อมรอบนี้ว่า   bundle sheath   vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่ไม่พบเนื้อเยื่อเจริญ vascular cambium  ยกเว้นหมากผู้หมากเมีย  และพืชตระกูลปาล์ม<br />\n                    <span style=\"background-color: #c0c0c0\">pith </span>          <br />\n                    เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลำต้น  ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท parenchyma  พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น ข้าวโพด  ในเนื้อเยื่อของ pith นี้จะพบ vascular bundle กระจายอยู่เต็ม  นอกจากนี้พืชบางชนิดเนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลำต้น  เรียกว่า  pith cavity  เช่นต้นไผ่  ต้นข้าวเป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                             <img border=\"0\" src=\"/files/u18480/trunk1.jpg\" align=\"middle\" height=\"314\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของรูป : <a href=\"http://student.nu.ac.th/u46410288/meristems2%5B1%5D.jpeg\" title=\"http://student.nu.ac.th/u46410288/meristems2%5B1%5D.jpeg\">http://student.nu.ac.th/u46410288/meristems2%5B1%5D.jpeg</a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\nที่มาของข้อมูล : <a href=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/3.html\" title=\"www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/3.html\">www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/3.html</a> \n<p>\n                      http://<span style=\"color: #000000\">student.nu.ac.th/<wbr></wbr>u46410288/PLANT.HTM</span>\n</p>\n', created = 1715101250, expire = 1715187650, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:138f9a0d14e86cd47a56348f9e570bbe' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างของลำต้น


                                                                                             

โครงสร้างของลำต้น

1.โครงสร้างภายในของปลายยอดพืช
บริเวณปลายยอดพืชสามารถแบ่งออกเป็นบริเวณ(region/zone)  ได้ทั้งหมด 3 บริเวณด้วยกันคือ

               1.บริเวณเซลล์แบ่งตัว(region of cell division)
               2.บริเวณเซลล์ยืดตัว(region of cell elongation)
               3.บริเวณเซลล์เจริญเต็มที่ (region of maturation)


2.โครงสร้างภายในของลำต้นที่ตัดตามขวาง
                เมื่อนำปลายยอดของพืชมาตัดตามขวางบริเวณเซลล์เจริญเต็มที่จะพบว่าโครงสร้างภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆตามแต่ชนิดของพืชโดยแบ่งได้ดังนี้

      2.1.โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ 


               epidermis  
               เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น  ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว  พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair  และ  guard cell 
                ในต้นพืชที่อายุมากส่วนใหญ่แล้วส่วนของ epidermis จะหลุดหายไปเพราะถูกแทนที่ด้วยส่วนของคอร์ก

               cortex (คอร์เทกซ์)
               คอร์เทกซ์เป็นชั้นของลำต้นที่มีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ epidermis เข้ามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส(endodermis)  ดังนั้นในชั้นคอร์เทกซ์จึงประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆได้แก่ 

 ชนิด  รายละเอียด และ หน้าที่
 parenchyma   เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ที่พบภายในลำต้น
 chlorenchyma   ทำหน้าที่ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 aerenchyma   ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสะสมอากาศ  โดยเฉพาะพืชน้ำ
 collenchyma  เพิ่มความแข็งแรงให้แก่ลำต้น
 sclerenchyma(fiber)  ให้ความแข็งแรงแก่ลำต้น

                stele (สตีล)
                สตีลเป็นชั้นที่ถัดเข้ามาจากชั้นคอร์เทกซ์  โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ endodermis เข้ามาจนถึงใจกลางของลำต้น  แต่เนื่องจากในลำต้นเนื้อเยื่อ endodermis ส่วนใหญ่เห็นได้ไม่ชัดเจนหรือหนังสือบางเล่มก็กล่าวว่าในลำต้นจะไม่มีเนื้อเยื่อ endodermis  ทำให้ชั้นสตีลในลำต้นแบ่งแยกออกจากชั้นคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจนเหมือนในส่วนของรากพืช  ภายในชั้นสตีลจะประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่สำคัญคือ

                  vascular bundle  หมายถึงกลุ่มของเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียง 
ภายในเนื้อเยื่อ vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงคู่ประกอบด้วย กลุ่มเนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร(phloem)เรียงตัวอยู่ทางด้านนอกและกลุ่มเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ(xylem)เรียงตัวอยู่ทางด้านในหรือด้านที่ติดกับ pith  ระหว่าง xylem กับ phloem จะมีเนื้อเยื่อเจริญที่เรียกว่า vascular  cambium คั่นกลางอยู่ทำหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อให้กำเนิด xylem และ phloem

                   pith   เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลำต้น  ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท
parenchyma  จึงทำหน้าที่ในการสะสมสารต่างๆ  ลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิดเนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลำต้น  เรียกช่องนี้ว่า  pith cavity 


        2.2โครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว 


               epidermis 
               เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภาย ในของลำต้น  ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียวและมีอยู่ตลอดไป ยกเว้นใน   ต้นพืชตระกูลปาล์มจะมีเฉพาะในปีแรกเท่านั้นเพราะต่อมาจะมีเนื้อเยื่อคอร์ก (cork) มาแทน
                cortex
                มีเนื้อเยื่อบางๆ1-2 ชั้น ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อชนิด parenchyma  และส่วนใหญ่ไม่พบ endodermis ทำให้อาณาเขตแบ่งได้ไม่ชัดเจน


                stele 
                    vascular bundle
                    กลุ่มของเนื้อเยื่อลำเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ส่วนของ xylem, phloem จะเรียงตัวกันมองคล้ายๆใบหน้าคน  มีส่วนของ vessel อยู่บริเวณคล้ายดวงตา  ส่วน phloem อยู่บริเวณคล้ายหน้าผาก   xylem และ phloem จะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma หรืออาจเป็น sclerenchyma  และเรียกเซลล์ที่มาล้อมรอบนี้ว่า   bundle sheath   vascular bundle ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่ไม่พบเนื้อเยื่อเจริญ vascular cambium  ยกเว้นหมากผู้หมากเมีย  และพืชตระกูลปาล์ม
                    pith          
                    เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลำต้น  ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อประเภท parenchyma  พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น ข้าวโพด  ในเนื้อเยื่อของ pith นี้จะพบ vascular bundle กระจายอยู่เต็ม  นอกจากนี้พืชบางชนิดเนื้อเยื่อในส่วนนี้อาจสลายไปกลายเป็นช่องกลวงกลางลำต้น  เรียกว่า  pith cavity  เช่นต้นไผ่  ต้นข้าวเป็นต้น

 

                            

ที่มาของรูป : http://student.nu.ac.th/u46410288/meristems2%5B1%5D.jpeg


ที่มาของข้อมูล : www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/3.html

                      http://student.nu.ac.th/u46410288/PLANT.HTM

สร้างโดย: 
black witch

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 477 คน กำลังออนไลน์