• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c0fb77e099f255b0f24636787c6f5ef1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\nสำหรับหน้านี้ เราก็จะมาพูดถึงเทคโนโลยีชีวภาพในประเทศไทยของเรากันบ้าง\n</p>\n<p align=\"center\">\nอย่างที่เราทุกคนทราบกันดีอยู่แล้วว่า ประเทศไทยเป็นแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ดังนั้นเทคโนโลยีชีวภาพจึงมีบทบาทอย่างมากในการเกษตรกรรม เช่น การปลูกถ่ายเนื้อเยื่อพืช การตัดแต่งพันธุกรรมของพืช โดยในการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้นั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำพืชดัดตัดแต่งยีนเข้ามาในประเทศ ต้องมีการควบคุมภายใต้ พ.ร.บ.กักพืช พ.ศ.๒๕๐๗ และประกาศเพิ่มเติมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การประกาศให้พืชตัดแต่งยีน ๔๐ ชนิดเป็นสิ่งต้องห้าม ดังนั้น หากมีผู้ประสงค์จะนำเข้าพืชตัดแต่งยีนเข้ามาทดลองในประเทศไทยจะต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมวิชาการ-เกษตร โดยต้องผ่านกระบวนการของทางราชการ ทั้งนี้ การนำพืชตัดแต่งยีนเข้ามาทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ว่าการปลูกพืชตัดแต่งยีนดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นหรือสิ่งแวดล้อม และมีความปลอดภัยเมื่อนำมาใช้เป็นอาหาร\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080; background-color: #00ffff\">สถาบันที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพในประเทศไทย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080; background-color: #00ffff\">ส่วนราชการ</span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ffff; background-color: #800080\">๑. ศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nมีภารกิจในการสร้างพลวัตรทางเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเทคโนโลยีเพื่อการผลิตของประเทศ และพัฒนาความเป็นอยู่ รวมทั้งสิ่งแวดล้อมของประชาชนชาวไทยให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น\n</p>\n<p align=\"center\">\nประเทศไทยได้จัดตั้งศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๒๖ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน และดำเนินการวิจัยและพัฒนาอันจะเป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ เกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม\n</p>\n<p align=\"center\">\nผลงานวิจัยที่ได้มีการคิดค้นหรือทำประโยชน์ในเมืองไทย อาทิเช่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n๑. การพัฒนาพันธุ์พืชและผลิตผลจากพืช ได้แก่ การปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศ พริก ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อศัตรูพืชด้วยเทคนิคการตัดต่อยีน การปรับปรุงและขยายพันธุ์พืชที่เหมาะกับเกษตรกรที่สูง เช่น สตรอเบอรี่ มันฝรั่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n๒. การพัฒนาชนบทและเกษตรกรรายย่อย ได้แก่ การผลิตไหลสตรอเบอรี่สำหรับปลูกในภาคเหนือและอีสาน การใช้จุลินทรีย์ควบคุมโรคในแปลงปลูกมะเขือเทศ ขิง สตรอเบอรี่\n</p>\n<p align=\"center\">\n๓. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ได้แก่ การขยายและปรับปรุงพันธุ์ กล้วย กล้วยไม้ ไผ่ ไม้ดอกไม้ประดับ หญ้าแฝก\n</p>\n<p align=\"center\">\n๔. การพัฒนาปุ๋ยชีวภาพ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก จุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน และปุ๋ยสาหร่าย\n</p>\n<p align=\"center\">\n๕. การพัฒนาเทคโนโลยีลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ได้แก่ การตรวจการปลอมปนข้าวหอมมะลิ การตรวจพันธุ์ปลาทูน่า\n</p>\n<p align=\"center\">\n๖. การพัฒนาพันธุ์สัตว์และการตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์ ได้แก่ การตรวจหาไวรัสสาเหตุโรคหัวเหลืองและจุดขาวจุดแดงในกุ้งกุลาดำ\n</p>\n<p align=\"center\">\n๗. การวิจัยและพัฒนาทางการแพทย์ ได้แก่ การตรวจวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก โรคทางเดินอาหาร การพัฒนาวิธีตรวจหาสารต่อต้านมาเลเรีย วัณโรคจากพืชและจุลินทรีย์ การพัฒนาการเลี้ยงเซลล์มนุษย์และสัตว์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ffff; background-color: #800080\">๒. ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ขึ้น เพื่อทำหน้าที่พิจารณาการให้สัตยาบัน (Ratification) ต่ออนุสัญญาฯ และพิจารณามาตรการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างเหมาะสม คณะอนุกรรมการฯ ได้ตั้งคณะทำงานยกร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการร่างระเบียบฯ เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๑ และในที่สุดได้รับการประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๔๓ ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ นั้น ได้กำหนดให้มี คณะกรรมการการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ (กอช.) และมอบหมายให้สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) จัดตั้ง &quot;ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ&quot; เพื่อทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการให้กับ กอช. ในการประสานงานบริหารจัดการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของไทย เพื่อรองรับการดำเนินงานในอนาคต ที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาฯ นอกจากนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้พิจารณาขยายขอบเขตภารกิจของ องค์กรประสานงานการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพให้สามารถดำเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยรวมถึงงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพด้วย\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800080; background-color: #00ffff\">องค์การระหว่างประเทศ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #800080\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>United Nations Environment Programme</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\nมีภารกิจในการประสานความร่วมมือระหว่างนานาชาติเพื่อการปรับปรุงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมเพื่ออนาคตของมนุษยชาติ\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800080; background-color: #00ffff\">องค์การเอกชน</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #800080\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>๑. องค์กรความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาไทย หรือ เครือข่ายสิทธิภูมิปัญญาไทย (BIOTHAI)</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\nเป็นการรวมตัวขององค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรประชาชน นักวิชาการและข้าราชการที่เห็นความสำคัญเกี่ยวกับประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้โดยเริ่มต้นกิจกรรมการรณรงค์และให้การศึกษาแก่สาธารณะเกี่ยวกับประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพในสังคมไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๘ เป็นต้นมา การดำเนินกิจกรรมของไบโอไทยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการประมาณร้อยละ ๕๐ จากรัฐบาล เช่น จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการวิจัย และการจัดประชุมทางวิชาการ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"background-color: #800080\"><strong>๒. องค์การสันติภาพเขียว</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\nจัดตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยไม่ใช้วิธีการรุนแรง ดำเนินการได้โดยการ เงินบริจาคจากผู้ที่รักสิ่งแวดล้อม และปฏิเสธที่จะรับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลและภาคเอกชน\n</p>\n', created = 1715575394, expire = 1715661794, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c0fb77e099f255b0f24636787c6f5ef1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเทศไทยกับเทคโนโลยีชีวภาพ

สำหรับหน้านี้ เราก็จะมาพูดถึงเทคโนโลยีชีวภาพในประเทศไทยของเรากันบ้าง

อย่างที่เราทุกคนทราบกันดีอยู่แล้วว่า ประเทศไทยเป็นแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ดังนั้นเทคโนโลยีชีวภาพจึงมีบทบาทอย่างมากในการเกษตรกรรม เช่น การปลูกถ่ายเนื้อเยื่อพืช การตัดแต่งพันธุกรรมของพืช โดยในการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้นั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำพืชดัดตัดแต่งยีนเข้ามาในประเทศ ต้องมีการควบคุมภายใต้ พ.ร.บ.กักพืช พ.ศ.๒๕๐๗ และประกาศเพิ่มเติมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การประกาศให้พืชตัดแต่งยีน ๔๐ ชนิดเป็นสิ่งต้องห้าม ดังนั้น หากมีผู้ประสงค์จะนำเข้าพืชตัดแต่งยีนเข้ามาทดลองในประเทศไทยจะต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมวิชาการ-เกษตร โดยต้องผ่านกระบวนการของทางราชการ ทั้งนี้ การนำพืชตัดแต่งยีนเข้ามาทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ว่าการปลูกพืชตัดแต่งยีนดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นหรือสิ่งแวดล้อม และมีความปลอดภัยเมื่อนำมาใช้เป็นอาหาร

สถาบันที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพในประเทศไทย

ส่วนราชการ

๑. ศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

มีภารกิจในการสร้างพลวัตรทางเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเทคโนโลยีเพื่อการผลิตของประเทศ และพัฒนาความเป็นอยู่ รวมทั้งสิ่งแวดล้อมของประชาชนชาวไทยให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

ประเทศไทยได้จัดตั้งศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๒๖ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน และดำเนินการวิจัยและพัฒนาอันจะเป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์ เกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม

ผลงานวิจัยที่ได้มีการคิดค้นหรือทำประโยชน์ในเมืองไทย อาทิเช่น

๑. การพัฒนาพันธุ์พืชและผลิตผลจากพืช ได้แก่ การปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศ พริก ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อศัตรูพืชด้วยเทคนิคการตัดต่อยีน การปรับปรุงและขยายพันธุ์พืชที่เหมาะกับเกษตรกรที่สูง เช่น สตรอเบอรี่ มันฝรั่ง

๒. การพัฒนาชนบทและเกษตรกรรายย่อย ได้แก่ การผลิตไหลสตรอเบอรี่สำหรับปลูกในภาคเหนือและอีสาน การใช้จุลินทรีย์ควบคุมโรคในแปลงปลูกมะเขือเทศ ขิง สตรอเบอรี่

๓. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ได้แก่ การขยายและปรับปรุงพันธุ์ กล้วย กล้วยไม้ ไผ่ ไม้ดอกไม้ประดับ หญ้าแฝก

๔. การพัฒนาปุ๋ยชีวภาพ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก จุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน และปุ๋ยสาหร่าย

๕. การพัฒนาเทคโนโลยีลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ได้แก่ การตรวจการปลอมปนข้าวหอมมะลิ การตรวจพันธุ์ปลาทูน่า

๖. การพัฒนาพันธุ์สัตว์และการตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์ ได้แก่ การตรวจหาไวรัสสาเหตุโรคหัวเหลืองและจุดขาวจุดแดงในกุ้งกุลาดำ

๗. การวิจัยและพัฒนาทางการแพทย์ ได้แก่ การตรวจวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก โรคทางเดินอาหาร การพัฒนาวิธีตรวจหาสารต่อต้านมาเลเรีย วัณโรคจากพืชและจุลินทรีย์ การพัฒนาการเลี้ยงเซลล์มนุษย์และสัตว์

๒. ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ

กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ขึ้น เพื่อทำหน้าที่พิจารณาการให้สัตยาบัน (Ratification) ต่ออนุสัญญาฯ และพิจารณามาตรการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างเหมาะสม คณะอนุกรรมการฯ ได้ตั้งคณะทำงานยกร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการร่างระเบียบฯ เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๑ และในที่สุดได้รับการประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๔๓ ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ นั้น ได้กำหนดให้มี คณะกรรมการการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ (กอช.) และมอบหมายให้สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) จัดตั้ง "ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ" เพื่อทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการให้กับ กอช. ในการประสานงานบริหารจัดการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของไทย เพื่อรองรับการดำเนินงานในอนาคต ที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาฯ นอกจากนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้พิจารณาขยายขอบเขตภารกิจของ องค์กรประสานงานการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพให้สามารถดำเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยรวมถึงงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพด้วย

องค์การระหว่างประเทศ

United Nations Environment Programme

มีภารกิจในการประสานความร่วมมือระหว่างนานาชาติเพื่อการปรับปรุงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมเพื่ออนาคตของมนุษยชาติ

องค์การเอกชน

๑. องค์กรความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาไทย หรือ เครือข่ายสิทธิภูมิปัญญาไทย (BIOTHAI)

เป็นการรวมตัวขององค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรประชาชน นักวิชาการและข้าราชการที่เห็นความสำคัญเกี่ยวกับประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้โดยเริ่มต้นกิจกรรมการรณรงค์และให้การศึกษาแก่สาธารณะเกี่ยวกับประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพในสังคมไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๘ เป็นต้นมา การดำเนินกิจกรรมของไบโอไทยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการประมาณร้อยละ ๕๐ จากรัฐบาล เช่น จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการวิจัย และการจัดประชุมทางวิชาการ

๒. องค์การสันติภาพเขียว

จัดตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยไม่ใช้วิธีการรุนแรง ดำเนินการได้โดยการ เงินบริจาคจากผู้ที่รักสิ่งแวดล้อม และปฏิเสธที่จะรับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลและภาคเอกชน

สร้างโดย: 
คุณครูจุฑารัตน์ จริงธนสารและนางสาวพิชญา เปลี่ยนศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 284 คน กำลังออนไลน์