• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:316b89dfedab532dee9868a13d3a57f1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table style=\"border-color: #b319bd; border-width: 0px; background-color: #fcaffc\" border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"text-align: center\"><a href=\"/node/49508\"> <span style=\"font-size: small; font-family: Tahoma\"><sub><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><b>ชาวมายา</b></span></sub></span></a></td>\n<td style=\"text-align: center\"> <span style=\"font-size: small; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><sub><b>ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012</b></sub></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\">ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012</span></span></b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n  <span style=\"color: #993366\" class=\"Apple-style-span\"> ชาวมายาวัดขนาดของเวลาจากเล็กไปสู่ใหญ่ จากวินาทีเป็นนาที ชั่วโมง วัน เดือน ฯลฯ อารยธรรมตะวันตกวัดเวลาตามปฏิทินเกรเกอเรียนซึ่งกินเวลา 365 วัน/ปี อันเป็นคาบเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ถัดจากปีเราก็มายืนอยู่บนเลขฐาน 10 นั่นคือ 10 ปีต่อ 1 ทศวรรษ, 10 ทศวรรษต่อ 1 ศตวรรษ, 10 ศตวรรษต่อ 1 สหัสวรรษ บลา บลา บลา...</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"> </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   แต่ปฏิทินของชาวมายานั้นแตกต่างออกไปเพราะตั้งอยู่บนค่าของเลข 20 เป็นหลัก 1 คินจะแทนค่าแทน 1 วัน นับตามแบบของเราคือโลกหมุนรอบตัวเองครบ 1 รอบ อุยนัลแทนค่า 1 เดือนประกอบด้วย 20 คิน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"> </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   ส่วนปีของมายาแทนด้วนทันอันประกอบด้วย 18 อุยนัลหรือ 360 คิน(ใกล้เคียงกับ 365 วันของพวกเรามากทีเดียว) 1 คาทันของชาวมายาเทียบได้กับทศวรรษของพวกเราเพียงแต่ยาวกว่า 2 เท่า เพราะระบบเลขของพวกเขาคือฐาน 20</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"> </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">ดังนั้น 1 คาทันจะมีความยาวประมาณ 19.5 ปี สำหรับ 1 แบ็กทันจะยาว 20 คาทันหรือประมาณ 394.5 ปี</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">จุดเริ่มการสร้างสรรค์ของชาวมายาตามบันทึกของพวกเขาซึ่งบันทึกเวลาได้เที่ยงตรงมากนั้นจะอยู่ประมาณ 3116</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">ปีก่อน ค.ศ. วงจรนี้จะกินเวลา 13 แบ็กทันของพวกเขาหรือ 5129 ปีของพวกเรา แบ็กทันที่เก้าสิ้นสุดลงราวปี ค.ศ. 830</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">  ดังนั้นจุดสิ้นสุดของแบ็กทันที่ 13 จึงจะอยู่ที่ ค.ศ. 2012 โดยประมาณ ทีนี้ก็มาถึงประเด็นสำคัญล่ะว่า หนึ่งวงจรของชาวมายานั้นมีความสำคัญอย่างไรและนี่คือปฏิทินเทียบระหว่างปฏิทินของเรากับวงจรของชาวมายา รอบแบ็กทัน ปฏิทินมายา ปฏิทินเกรเกอเรียน เหตุการณ์สำคัญ</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">1 1.0.0.0.0 3116-2734 BC จุดเริ่มต้น</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">2 2.0.0.0.0 2734-2339 BC ยุคปิระมิด</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">3 3.0.0.0.0 2339-1944 BC ยุคล้อ</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">4 4.0.0.0.0 1944-1550 BC อารยธรรมอียิปต์</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">5 5.0.0.0.0 1550-1155 BC อารยธรรมบ้านเชียง</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">6 6.0.0.0.0 1155 - 761 BC สงครามม้า</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">7 7.0.0.0.0 761-366 BC ยุคปรัชญา</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">8 8.0.0.0.0 366 BC - ค.ศ. 28 ยุคเมสไซอาห์</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">9 9.0.0.0.0 ค.ศ. 28-422 อาณาจักรโรมัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">10 10.0.0.0.0 ค.ศ. 422-817 มายา</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">11 11.0.0.0.0 ค.ศ. 817-1211 สงครามครูเสด</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">12 12.0.0.0.0 ค.ศ. 1211-1606 ยุคล่าอาณานิคม</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">13 13.0.0.0.0 ค.ศ. 1606-2012~ ยุคอุตสาหกรรมใหม่</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   เป็นอันว่าเราเกือบครบรอบวงจรใหญ่ของชาวมายากันแล้ว โดยนับจากแบ็กทันแรกถึงแบ็กทันที่สิบสามตามเวลาปฏิทินของมนุษย์ยุคใหม่เรา ส่วนการอ่านปฏิทินตัวเลขของชาวมายานั้นให้อ่านแบบนี้ครับ ดูตัวเลขที่เรียกลำดับกัน 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มนั้นจะแทนช่วงลำดับเวลา ตามนี้</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">แบ็กทัน, คาทัน, ทัน, อุยนัล, คิน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">คิน = 1 วัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">อุยนัล = 20 คิน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">ทัน = 360 คิน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">คาทัน = 20 ทัน (7200 คิน)</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">แบ็กทัน = 20 คาทัน (144000 คิน)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   จากนั้นก็คูณตัวเลขในแต่ละช่วงเวลาออกมาเพื่อให้ได้จำนวนวันจริงๆ แล้วเอาจำนวนวันจริงๆไปบวกจุดอ้างอิงของเราคือ 3116 BC. เราก็จะได้วันที่ตามปฏิทินสากลของเราแบบเท่ากันทุกประการ เป็นทฤษฎีที่หลุดโลกมาเลยใช่ไหมล่ะ ในข้อที่ว่าบรรพบุรุษของชาวมายาได้เดินทางจากห้วงอวกาศอันไกลโพ้นมาเยือนโลกพิภพของเรา เพื่อภารกิจในการสอดประสานระหว่างโลกมนุษย์กับแกแล็กซี่อื่น คุณอาจจะกำลังบริภาษอยู่ในใจว่าบ้าไปแล้วแน่ๆ</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">มีหลักฐานหรือเปล่าว่าชาวมายาเดินทางมาจากดาวเคราะห์ดวงอื่น พวกเขามาที่โลกของเราได้ยังไง </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">มีคำอยู่สองคำที่ต้องรู้จักเอาไว้ นั่นคือคำว่า ฮูแน็บ คู กับ คูซาน ซูอัม </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   คำว่าฮูแน็บ คู หมายถึงผู้ให้การเคลื่อนไหวและมาตรวัดเดียว เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่ที่ดำรงอยู่เหนือดวงอาทิตย์ เหนือแกนแกแล็กซี่ที่เป็นจุดกำเนิดของทุกสิ่งทุกอย่าง  ส่วนคำหลังคือ คูซาน คูอัม ถนนสู่ท้องฟ้าที่นำไปสู่แกนแกแล็กซี่หรือฮูแน็บ คู ส่วนที่ตั้งของ ฮูแน็บ คู </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   ตามแผนที่ดาราศาสตร์ปัจจุบันคือจุดระหว่างดาวฤกษ์สองดวงในกลุ่มดาวเซ็นทอร์ใต้ มีระห่างจากโลกของเรา 139 ปีแสง จุดเชื่อมระหว่างโลกและดาวอันไกลโพ้นของชาวมายาดวงนี้ก็คือ คูซาน ซูอัม นั่นเอง </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   ปากาล โวทาน ผู้นำชาวมายาผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา อาณาจักรมายาคลาสสิคมีความรุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคการปกครองของเขา</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">ปากาลตายในปี ค.ศ. 683 ภาพนี้คัดลอกมาจากภาพนูนแกะสลักบนฝาหินของเขาที่พบใน ค.ศ. 1952 ในอุโมงค์ฝังศพที่ตบแต่งไว้อย่างสวยงาม ในวิหารแห่งคำจารึก (Temple of inscriptions) ที่พาเลงกอในเชียพัส ประเทศเม็กซิโก นักคิดนักเขียนบางคนเรียกปากาลว่าผู้แทนแห่งแกแล็กซี่ ผู้อาศัยคูซาน ซูอัม เพื่อไปถึง ฮูแน็บ คู หลังจากที่ภารกิจของเขาลุล่วงไปแล้ว</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   ประเด็นสำคัญอีกประเด็นว่าทำไมถึงเป็นชาวมายา ไม่ใช่อียิปต์ อินคา หรือ สุเมเรียนที่เป็นอารยชนที่ยิ่งใหญ่พอๆกัน บอกได้เพียงแต่ชาวมายาก็มีอิทธิพลไม่น้อยในอารยธรรมอื่นๆ ยกตัวอย่างเช่น คำว่ามายาเป็นคำศาสนาฮินดูหมายถึงต้นกำเนิดของจักรวาล</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">   ในภาษาสันสกฤตเป็นคำที่เกี่ยวโยงกับสภาพจิตใจ เวทย์มนตร์คาถาและแม่ แม้แต่พระมารดาของพระพุทธองค์เองก็มีนามว่าสิริมหามายา ในภาษา อียิปต์คำว่ามาเย็ตหมายถึงระเบียบของจักรวาล ส่วนในตำนานกรีกดาวที่ส่องสว่างที่สุดในกลุ่มดาวลูกไก่และเป็นน้องคนสุดท้องก็มีนามว่ามายาขนิษฐาของเฮดีส</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">ภาพปฏิทินมายา นับถอยหลัง ถึงวันสุดท้าย 21 ธันวาคม 2012</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18658/maya-logo.gif\" height=\"334\" width=\"400\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"> </span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\" class=\"Apple-style-span\"> <a href=\"http://blog.phuketindex.com/arnat/files/2009/07/maya-logo.gif\">ที่มา http://blog.phuketindex.com/arnat/files/2009/07/maya-logo.gif</a></span></span>\n</div>\n<div>\n<a href=\"http://blog.phuketindex.com/arnat/files/2009/07/maya-logo.gif\"><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"/node/41686\"><img src=\"/files/u18658/home2.png\" height=\"75\" width=\"100\" /></a>\n</div>\n<table style=\"border-style: dashed ! important; border-color: #b319bd; border-width: 0px; margin: 1em 0px; padding: 0px; width: 638px; background-color: #fcaffc\" border=\"0\">\n<tbody style=\"margin: 0px; padding: 0px\">\n<tr style=\"margin: 0px; padding: 0px\">\n<td style=\"border: 1px dashed #bbbbbb ! important; margin: 0px; padding: 0.3em 0.5em; font-family: Verdana,Arial,Helvetica,sans-serif; font-size: 10px; text-align: center\"> <a href=\"/node/49508\"><span style=\"margin: 0px; padding: 0px; font-size: small; font-family: Tahoma\"><sub style=\"margin: 0px; padding: 0px\"><span style=\"margin: 0px; padding: 0px; color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><b style=\"margin: 0px; padding: 0px\">ชาวมายา</b></span></sub></span></a></td>\n<td style=\"border: 1px dashed #bbbbbb ! important; margin: 0px; padding: 0.3em 0.5em; font-family: Verdana,Arial,Helvetica,sans-serif; font-size: 10px; text-align: center\"> <span style=\"margin: 0px; padding: 0px; font-size: small; font-family: Tahoma\"><span style=\"margin: 0px; padding: 0px; color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><sub style=\"margin: 0px; padding: 0px\"><b style=\"margin: 0px; padding: 0px\">ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012</b></sub></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div>\n\n</div>\n', created = 1715298201, expire = 1715384601, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:316b89dfedab532dee9868a13d3a57f1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012

 ชาวมายา  ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012
 
 
ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012
 
   ชาวมายาวัดขนาดของเวลาจากเล็กไปสู่ใหญ่ จากวินาทีเป็นนาที ชั่วโมง วัน เดือน ฯลฯ อารยธรรมตะวันตกวัดเวลาตามปฏิทินเกรเกอเรียนซึ่งกินเวลา 365 วัน/ปี อันเป็นคาบเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ถัดจากปีเราก็มายืนอยู่บนเลขฐาน 10 นั่นคือ 10 ปีต่อ 1 ทศวรรษ, 10 ทศวรรษต่อ 1 ศตวรรษ, 10 ศตวรรษต่อ 1 สหัสวรรษ บลา บลา บลา...
 
   แต่ปฏิทินของชาวมายานั้นแตกต่างออกไปเพราะตั้งอยู่บนค่าของเลข 20 เป็นหลัก 1 คินจะแทนค่าแทน 1 วัน นับตามแบบของเราคือโลกหมุนรอบตัวเองครบ 1 รอบ อุยนัลแทนค่า 1 เดือนประกอบด้วย 20 คิน
 
   ส่วนปีของมายาแทนด้วนทันอันประกอบด้วย 18 อุยนัลหรือ 360 คิน(ใกล้เคียงกับ 365 วันของพวกเรามากทีเดียว) 1 คาทันของชาวมายาเทียบได้กับทศวรรษของพวกเราเพียงแต่ยาวกว่า 2 เท่า เพราะระบบเลขของพวกเขาคือฐาน 20
 
ดังนั้น 1 คาทันจะมีความยาวประมาณ 19.5 ปี สำหรับ 1 แบ็กทันจะยาว 20 คาทันหรือประมาณ 394.5 ปี

จุดเริ่มการสร้างสรรค์ของชาวมายาตามบันทึกของพวกเขาซึ่งบันทึกเวลาได้เที่ยงตรงมากนั้นจะอยู่ประมาณ 3116

ปีก่อน ค.ศ. วงจรนี้จะกินเวลา 13 แบ็กทันของพวกเขาหรือ 5129 ปีของพวกเรา แบ็กทันที่เก้าสิ้นสุดลงราวปี ค.ศ. 830

  ดังนั้นจุดสิ้นสุดของแบ็กทันที่ 13 จึงจะอยู่ที่ ค.ศ. 2012 โดยประมาณ ทีนี้ก็มาถึงประเด็นสำคัญล่ะว่า หนึ่งวงจรของชาวมายานั้นมีความสำคัญอย่างไรและนี่คือปฏิทินเทียบระหว่างปฏิทินของเรากับวงจรของชาวมายา รอบแบ็กทัน ปฏิทินมายา ปฏิทินเกรเกอเรียน เหตุการณ์สำคัญ

1 1.0.0.0.0 3116-2734 BC จุดเริ่มต้น
2 2.0.0.0.0 2734-2339 BC ยุคปิระมิด
3 3.0.0.0.0 2339-1944 BC ยุคล้อ
4 4.0.0.0.0 1944-1550 BC อารยธรรมอียิปต์
5 5.0.0.0.0 1550-1155 BC อารยธรรมบ้านเชียง
6 6.0.0.0.0 1155 - 761 BC สงครามม้า
7 7.0.0.0.0 761-366 BC ยุคปรัชญา
8 8.0.0.0.0 366 BC - ค.ศ. 28 ยุคเมสไซอาห์
9 9.0.0.0.0 ค.ศ. 28-422 อาณาจักรโรมัน
10 10.0.0.0.0 ค.ศ. 422-817 มายา
11 11.0.0.0.0 ค.ศ. 817-1211 สงครามครูเสด
12 12.0.0.0.0 ค.ศ. 1211-1606 ยุคล่าอาณานิคม
13 13.0.0.0.0 ค.ศ. 1606-2012~ ยุคอุตสาหกรรมใหม่

   เป็นอันว่าเราเกือบครบรอบวงจรใหญ่ของชาวมายากันแล้ว โดยนับจากแบ็กทันแรกถึงแบ็กทันที่สิบสามตามเวลาปฏิทินของมนุษย์ยุคใหม่เรา ส่วนการอ่านปฏิทินตัวเลขของชาวมายานั้นให้อ่านแบบนี้ครับ ดูตัวเลขที่เรียกลำดับกัน 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มนั้นจะแทนช่วงลำดับเวลา ตามนี้

แบ็กทัน, คาทัน, ทัน, อุยนัล, คิน
คิน = 1 วัน
อุยนัล = 20 คิน
ทัน = 360 คิน
คาทัน = 20 ทัน (7200 คิน)
แบ็กทัน = 20 คาทัน (144000 คิน)

   จากนั้นก็คูณตัวเลขในแต่ละช่วงเวลาออกมาเพื่อให้ได้จำนวนวันจริงๆ แล้วเอาจำนวนวันจริงๆไปบวกจุดอ้างอิงของเราคือ 3116 BC. เราก็จะได้วันที่ตามปฏิทินสากลของเราแบบเท่ากันทุกประการ เป็นทฤษฎีที่หลุดโลกมาเลยใช่ไหมล่ะ ในข้อที่ว่าบรรพบุรุษของชาวมายาได้เดินทางจากห้วงอวกาศอันไกลโพ้นมาเยือนโลกพิภพของเรา เพื่อภารกิจในการสอดประสานระหว่างโลกมนุษย์กับแกแล็กซี่อื่น คุณอาจจะกำลังบริภาษอยู่ในใจว่าบ้าไปแล้วแน่ๆ
มีหลักฐานหรือเปล่าว่าชาวมายาเดินทางมาจากดาวเคราะห์ดวงอื่น พวกเขามาที่โลกของเราได้ยังไง 

มีคำอยู่สองคำที่ต้องรู้จักเอาไว้ นั่นคือคำว่า ฮูแน็บ คู กับ คูซาน ซูอัม 

   คำว่าฮูแน็บ คู หมายถึงผู้ให้การเคลื่อนไหวและมาตรวัดเดียว เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่ที่ดำรงอยู่เหนือดวงอาทิตย์ เหนือแกนแกแล็กซี่ที่เป็นจุดกำเนิดของทุกสิ่งทุกอย่าง  ส่วนคำหลังคือ คูซาน คูอัม ถนนสู่ท้องฟ้าที่นำไปสู่แกนแกแล็กซี่หรือฮูแน็บ คู ส่วนที่ตั้งของ ฮูแน็บ คู 

   ตามแผนที่ดาราศาสตร์ปัจจุบันคือจุดระหว่างดาวฤกษ์สองดวงในกลุ่มดาวเซ็นทอร์ใต้ มีระห่างจากโลกของเรา 139 ปีแสง จุดเชื่อมระหว่างโลกและดาวอันไกลโพ้นของชาวมายาดวงนี้ก็คือ คูซาน ซูอัม นั่นเอง 

   ปากาล โวทาน ผู้นำชาวมายาผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา อาณาจักรมายาคลาสสิคมีความรุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคการปกครองของเขา
ปากาลตายในปี ค.ศ. 683 ภาพนี้คัดลอกมาจากภาพนูนแกะสลักบนฝาหินของเขาที่พบใน ค.ศ. 1952 ในอุโมงค์ฝังศพที่ตบแต่งไว้อย่างสวยงาม ในวิหารแห่งคำจารึก (Temple of inscriptions) ที่พาเลงกอในเชียพัส ประเทศเม็กซิโก นักคิดนักเขียนบางคนเรียกปากาลว่าผู้แทนแห่งแกแล็กซี่ ผู้อาศัยคูซาน ซูอัม เพื่อไปถึง ฮูแน็บ คู หลังจากที่ภารกิจของเขาลุล่วงไปแล้ว

   ประเด็นสำคัญอีกประเด็นว่าทำไมถึงเป็นชาวมายา ไม่ใช่อียิปต์ อินคา หรือ สุเมเรียนที่เป็นอารยชนที่ยิ่งใหญ่พอๆกัน บอกได้เพียงแต่ชาวมายาก็มีอิทธิพลไม่น้อยในอารยธรรมอื่นๆ ยกตัวอย่างเช่น คำว่ามายาเป็นคำศาสนาฮินดูหมายถึงต้นกำเนิดของจักรวาล

   ในภาษาสันสกฤตเป็นคำที่เกี่ยวโยงกับสภาพจิตใจ เวทย์มนตร์คาถาและแม่ แม้แต่พระมารดาของพระพุทธองค์เองก็มีนามว่าสิริมหามายา ในภาษา อียิปต์คำว่ามาเย็ตหมายถึงระเบียบของจักรวาล ส่วนในตำนานกรีกดาวที่ส่องสว่างที่สุดในกลุ่มดาวลูกไก่และเป็นน้องคนสุดท้องก็มีนามว่ามายาขนิษฐาของเฮดีส

ภาพปฏิทินมายา นับถอยหลัง ถึงวันสุดท้าย 21 ธันวาคม 2012
 
 
 
 
 
 ชาวมายา  ปฏิทินมายา เกี่ยวอะไรกับปี 2012
สร้างโดย: 
จตุรพร ศรีพูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 323 คน กำลังออนไลน์