• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a4fa5e40bf9ddb673da961a18d8818c1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n   <span style=\"color: #000080\">                                    </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000080\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"384\" src=\"/files/u20256/1.gif\" height=\"77\" style=\"width: 416px; height: 86px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><strong>อาณาจักรโบราณสำคัญบริเวณดินแดนประเทศไทย </strong></span>\n</p>\n<p><a href=\"/node/43083\"><u><span style=\"color: #810081\"></span></u></a></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u20256/DSC-0060.jpg\" height=\"335\" style=\"width: 426px; height: 307px\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nขอบคุณภาพจาก : <a href=\"http://www.chiangmai-thailand.net/lanna_history_adeet-putjubun/DSC\">http://www.chiangmai-thailand.net/lanna_history_adeet-putjubun/DSC</a>-\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">พญาแสนพู (พ.ศ.1868 – 1877)  พระองค์แต่งตั้งให้ท้าวคำฟู ซึ่งเป็นพระราชโอรสไปครองเมืองเชียงใหม่ ส่วนพระองค์ยังคงประทับอยู่ที่เชียงราย  ในปี พ.ศ.1870 ได้สร้างเมืองเชียงแสนในบริเวณเมืองเงินยาง มีเป้าหมายเพื่อป้องกันศึกด้านเหนือ เพราะเชียงแสนตั้งริมแม่น้ำโขงและใช้แม่น้ำโขงเป็นคูเมืองธรรมชาติ  หลังจากสร้างเชียงแสนแล้ว พญาแสนพูประทับที่เมืองเชียงรายตลอดรัชสมัย  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">   พญาคำฟู (พ.ศ. 1877 – 1879)  พญาคำฟูประทับที่เมืองเชียงแสน ส่วนเมืองเชียงใหม่ทรงแต่งตั้งให้ท้าวผายู ปกครองแทน อาณาจักรล้านนาในสมัยนี้มีความเข้มแข็งเห็นได้จากนโยบายขยายอาณาเขตไปทางตะวันออก โดยเริ่มทำสงครามกับพะเยา สามารถยึดเมืองพะเยาได้ เมืองพะเยาจึงถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนานับแต่นั้นมา หลังจากยึดพะเยาได้แล้ว พญาคำฟูขยายอำนาจไปยังเมืองแพร่แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">    พญาผายู  (พ.ศ.1879 – 1898)  เสนาอำมาตย์ทั้งหลายอภิเษกท้าวยายูเป็นกษัตริย์ล้านนา พญาผายูไม่เสด็จไปประทับที่เมืองเชียงแสน ทรงประทั้บที่เชียงใหม่ เหตุที่ย้ายที่ประทับลงมาเชียงใหม่ อาจเป็นเพราะเขตทางตอนบนมีความมั่นคง โดยสามารถสร้างเมืองเชียงแสนเป็นปราการป้องกันศึกฮ่อได้อย่างเข้มแข็ง และสามารถผนกพะเยาได้ ขณะเดียวกั้นพญาผายูทรงสร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับเชียงของในเขตลุ่มน้ำกก  โดยการอภิเษกกับพระนางจิตราเทวี ราชธิดาของเจ้าเมืองเชียงของ   พญาผายูทรงสร้างวัดลีเชียงพระ (วัดพระสิงห์) ให้เป็นวัดสำคัญของเชียงใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">    พระเจ้ากือนา (พ.ศ.1898 – 1928)  พระองค์ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและทรงปรีชาสามารถในวิชาศิลปะศาสตร์ทุกแขนง  บ้านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์ทั่วไป  เหตุการณ์สำคัญในสมัยพญากือนา คือ การรับเอาพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์จากสุโขทัย  โดยก่อนหน้านั้นพระพุทธศาสนาสืบทอดจากหริภุญไชย และยังดั้บอิทธิพลจากหงสาวดีและอังวะ ผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">    พญากือนารับพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์จากสุโขทัย  โดยมีพระประสงค์จะให้พระภิกษุอรัญญวาสีมาอยู่ที่เชียงใหม่  และสามารถทำสังฆกรรมได้ทั้งหมด พญากือนาทรงอาราธนาพระสุมนเถระจากสุโขทัย ใน พ.ศ. 1912 พระสุมนเถระเดินทางถึงเมืองหริภุญไชยพร้อมทั้งอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาด้วย  พระสุมนเถระ จำพรรษาที่วัดพระยืนในเมืองหริภุญไชย พญากือนาทรงเลือมใสศรัทธาในพระสุมนเถระมาก เนื่องจากมีความเชื่อว่าพระภิกษุอรัญญวาสีเป็นพระภิกษุที่มีความรู้ลึกซึ้งในพระพุทธศาสนาและถือกันว่าพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์เป็นพระพุทธศาสนาที่บริสุทธิ์ เพราะทการสังฆกรรมถูกต้องมาแต่โบราณ  ดังนั้นพญากือนาจึงอาราธนาพระนิกายเดิม อันสืบเนื่องมาจากสมัยพระนางจามเทวีให้บวชใหม่ถึง 8,400 รูป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ใน พ.ศ. 1914 พญากือนาทรงสร้างวัดบุปผาราม หรือวัดสวนดอกในอุทธยานป่าไม้พะยอม  เพื่อเป็นที่จำพรรษาของพระสุมนเถระ  และได้สร้างเวียงสวนดอกให้เป็นเวียงพระธาตุ เมื่อประมาณ พ.ศ. 1916 พญากือนาโปรดให้สร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งพระสุมนเถระอัญเชิญมาจากสุโขทัย  โดยประดิษฐานไว้ที่วัดพระธาตุดอยสุเทพ และวัดบุปผาราม พระสุมนเถรจำพรรษาอยู่ทีวัดบุปผารามตลอดจนมรณภาพใน พ.ศ.1932 นับว่าพระสุมนเถระมีบทบาทสำคัญต่อการวางรากฐานพุทธศาสนาลังกาวงศ์ในเชียงใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">   วัดบุปผารามเป็นศูนย์กลางของพุทธศษสนานิกายลังกาวงศ์ หรือเรียกว่า นิกายวัดสวนดอก หรือนิกายรามัญ เนื่องจากพระสุมนเถระได้บวชเรียนจากสำนักพระมหาสวามีอุทุมพรที่เมืองเมาะตะมะในรามัญประเทศ  พญากือนาทรงสนับสนุนให้พระภิกษุจากเมืองต่างๆ เช่น เชียงแสน เชียงตุง เดินทางมาศึกษาพระพุทธศาสนา ที่วัดบุปผาราม เชียงใหม่จึงเป็นศูนย์กลางของศาสนาแทนหริภุญไชย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">    พญาแสนเมืองมา  (พ.ศ. 1928 – 1944)  เป็นโอรสของพญากือนา เมื่อขึ้นครองราช ท้าวมหาพรหม พระอนุชาของพระเจ้ากือนาซึ่งครองอยู่ที่เมืองเชียงราย ได้ยกทัพมาแย่งชิงเมืองเชียงใหม่ แต่ประสบความล้มเหลว ท้าวมหาพรหมจึงขอความช่วยเหลือไปที่กรุงศรีอยุธยา ซึ่งเป็นสมัยของขุนหลวงพะงั่ว  พ.ศ. 1929 กองทัพกรุงศรีอยุธยาจึงยกเข้ามาตีล้านนา  โดยเข้าปล้นเมืองลำปาง ซึ่งไม่สำเร็จ กองทัพอยุธยาเป็นฝ่ายล่าถอยกลับไปครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่อยุธยาขึ้นมาทำสงครามกับล้านนา ส่วนท้าวมหาพรหมภายหลังขัดแย้งกับพญาใต้ จึงกลับมาล้านนา พญาแสนเมืองมาส่งให้ไปครองเมืองเชียงรายเช่นเดิม   หลังจากทีอยุธยาตีล้านนาไม่สำเร็จ พญาแสนเมืองมาได้ขยายอำนาจลงสู่ทางใต้เมื่อได้โอกาส เพราะสุโขทัยขอกำลังกองทัพล้านนาลงมาช่วยต่อสู้กับอยุธยา แต่สถานการณ์เปลี่ยนแปลง เพราะขุนหลวงพะงั่วเสด็จสวรรคตก่อน ฝ่ายสุโขทัยจึงหันมาโจมตีล้านนา กองทัพล้านนาพ่ายแพ้เสียหายมาก   ในสมัยพญาแสนเมืองมาได้ทรงเริ่มสร้าง “เจดีย์หลวง” เมื่อ พ.ศ. 1934 ซึ่งไม่แล้วเสร็จในสมัยของพระองค์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     พญาสามประหญาฝั่งแกน (พ.ศ. 1945 – 1985)   เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ ท้าวยี่กุมกาม เจ้าเมืองเชียงรายซึ่งเป็นพระเชษฐาไม่พอใจที่ไม่ได้ครองราชย์ จึงขอกองทัพจากสุโขทัยมาช่วยรบแย่งเมืองเชียงใหม่  ผลท้าวยี่กุมกามพ่ายแพ้หนีไปพึ่งเจ้าเมืองสุโขทัย   หลังจากนั้นพญาสามประหญาฝั่งแกนต้องทำสงครามกับฮ่อ  สาเหตุเพราะฮ่อไม่พอใจที่ล้านนาไม่ส่งส่วยให้  พญาสามประหญาฝั่งแกนเกณฑ์ทัพจากเชียงใหม่ เชียงแสน ฝาง เชียงราย เชียงของ และพะเยา เข้าทำศึกกับฮ่อ นับเป็นสงครามใหญ่ กองทัพฮ่อพ่ายแพ้ ถูกกองทัพล้านนาติดตามขับไล่จนสุดดินแดนสิบสองปันนา และยังได้ตั้งเมืองยองเป็นเมืองขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ ให้เป็นเมืองหน้าด่านตอนบนเพื่อต่อต้านฮ่อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">    ในสมัยพระยาติโลกราช (พ.ศ.1948 – 2030)  เป็นโอรสอันดับที่ 6 ของพญาประหญาสามฝั่งแกน  เดิมชื่อ ท้าวลก ครองเมืองพร้าว   เมื่อขึ้นครองราชย์แล้วทรงสร้างความมั่นคงภายในอาณาจักรล้านนา โดยใช้เวลาประมาณ 10 ปีสร้างอาณาจักรล้านนาให้เข็มแข็ง ดังจะเห็นได้จากการขยายอำนาจลงทางใต้ ทรงทำสงครามกับอยุธยาในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ทรงแก้ไขการขยายอำนาจของพระเจ้าติโลกราช โดยเสด็จขึ้นครองเมืองพิษณุโลก ในพ.ศ. 2006  ในการทำสงครามกับล้านนา พระบรมไตรโลกนาถนอกจากจะทรงใช้กำลังทหารโดยตรงแล้ว ยังใช้พุทธศาสนาและไสยศาสตร์เป็นเครื่องมือ แต่ไม่สำเร็จ ซึ่งเป็นเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้คนในสมัยนั้นมีความเชื่อในเรื่องของไสยศาสตร์มาก จนถึงปี พ.ศ. 2018 อยุธยากับล้านนาก็เป็นไมตรีกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">      พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองมาก  พระองค์ทรงเลื่อมใสและทำนุบำรุงพุทธศษสนานิกายสีหล  โดยพระองค์อาราธนาพระมหาเมธังกร พระภิกษุนิกายสีหลจากเมืองลำพูนมาจำพรรษาที่วัดราชมณเฑียร  และทรงสถาปนาให้พระมหาเมธังกรเป็นพระมหาสวามี และพระองค์ทรงผนวชชั่วคราว ณ วัดป่าแดงมหาวิหารอีกด้วย  การสนับสนุนคณะสงฆ์นิกายสีหลทำให้พุทธศาสนาลังกาวงศ์ใหม่เจริญรุ่งเรืองอย่างมากเป็นที่เลื่อมใสของผู้คน และมีพระภิกษุบวชใหม่ในนิกายสีหลเพิ่มขึ้น นิกายสีหลเน้นการศึกษาภาษาบาลี และการปฏิบัติพระธรรมวินัยที่ถูกต้อง ทำให้การศึกษาเล่าเรียนด้านปริยัติธรรมเจริญสูง พระเจ้าติโลกราชทรงยกย่องภิกษุที่มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฏก พระภิกษุในสมัยนี้ที่มีชื่อเสียงเช่น พระธรรมทิน พระญาณกิตติเถระ  พระสิริมังคลาจารย์ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       ในปีพ.ศ. 2020 ทรงได้โปรดเกล้าให้มีการทำ สังคายนาพระไตรปิฎกขึ้นในปี พ.ศ.2020 ที่วัดโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) ใช้เวลา 1 ปีจึงสำเร็จ  ถือเป็นหลักปฏิบัติหลักปฏิบัติของพระสงฆ์นิกายต่างๆ ในล้านนาสืบมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       พระเจ้าติโลกราชทรงสร้างวัดหลายวัด เช่น วัดมหาโพธาราม วัดราชมณเฑียร วัดป่าตาล วัดป่าแดงมหาวิหาร เป็นต้น  ทรงต่อเดิม     เจดีย์หลวงและทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตจากวัดพระธาตุลำปางหลวงมาประดิษฐานไว้ที่เจดีย์หลวง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       พญายอดเชียงราย (พ.ศ. 2030 – 2038)  ทรงเป็นโอรสของท้าวบุญเรือง โอรสองค์เดียวของพระเจ้าติโลกราช พญายอดเชียงรายปกครองบ้านเมือง 8 ปี แต่ไม่มีชื่อเสียงเป็นทีรู้จัก  ชินกาลมาลีปกรณ์เป็นหลักฐานที่กล่าวถึงพระองค์มากกว่าหลักฐานชิ้นอื่น ก็ระบุว่าพระราชกรณียกิจแต่เพียงว่าทรงถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าติโลกราช  ณ วัดมหาโพธาราม ครั้นถวายพระเพลิงเสร็จแล้ว ทรงสร้างสถูปใหญ่บรรจุพระอัฐิไว้ที่วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">      พญาแก้ว (พ.ศ. 2038 – 2068)  ทรงเป็นโอรสของพญายอดเชียงราย โดยทำสงครามกับอยุธยา ณ บริเวณหัวเมืองชายแดน พ.ศ.2050 พญาแก้ว่สงกองทัพตีเมืองสุโขทัยแต่ไม่สำเร็จ จากนั้นสงครามกับอยุธยาก็เกิดขึ้นหลายครั้ง จนหลัง พ.ศ.2058 พญาแก้วก็ไม่ได้ส่งทัพไปตีอยุธยาอีก และทางอยุธยาก็ไม่ได้ส่งทัพมาตีล้านนาเช่นกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">    ภายหลังสิ้นสมัยของพญาแก้ว (พ.ศ.2038 – 2068)  อาณาจักรล้านนาเริ่มแตกแยก เกิดการแย่งชิงสมบัติกันบ่อยครั้ง อำนาจการปกครองได้ตกไปอยู่กับบรรดาขุนนาง เสนา อำมาตย์ ซึ่งสามารถที่จะแต่งตั้งหรือถอดถอนกษัตริย์ได้  ความขัดแย้งแตกแยกนี้ทำให้พม่าโดยพระเจ้าบุเรงนองได้ยกทัพมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ใช้เวลาเพียง 3 วันก็สามารถยึดเมืองเชียงใหม่ได้อย่างง่ายดาย และได้ใช้เชียงใหม่เป็นฐานทัพในการเข้าโจมตีกรุงศรีอยุธยา ต่อไป จนสามารถยึดกรุงศรีอยุธยาได้ ในสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ เมื่อปี พ.ศ.2112 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">   เมื่อถึงสมัยธนบุรี  ผู้นำล้านนา ได้แก่พระเจ้ากาวิละ และพญาจ่าบ้าน (บุญมา)  ต้องการเป็นอิสระจากการยึดครองพม่า ซึ่งได้ยึดครองสมัยพม่ายกทัพเข้าตึกรุงศรีอยุธยา  จึงได้สวามิภักดิ์ต่อสมเด็จพระเจ้าตากสิน  ขอกำลังสนับสนุนไปตีเชียงใหม่  สามารถยึดเมืองเชียงใหม่กลับคืนมาได้ เมื่อ พ.ศ. 2317  สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ จึงโปรดเกล้าให้เจ้ากาวิละเป็นเจ้าเมืองลำปาง  พญาจ่าบ้านเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ตอนปลายสมัยธนบุรี เมืองเชียงใหม่ถูกทิ้งร้างจนถึงสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ฯ ได้โปรดเกล้าให้พระเจ้ากาวิละไปเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ แทนพญาจ่าบ้านที่เสียชีวิตลง   จนถีง พ.ศ. 2347 กองทัพล้านนาได้ร่วมกับกองทัพจากกรุงเทพฯ (รัตนโกสินทร์) ช่วยกันบขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงแสนได้สำเร็จ  ทำให้ล้านนาหลุดพ้นจากการยึดครองของพม่าได้สำเร็จ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ล้านนาเป็นประเทศราชของไทย (กรุงรัตนโกสินทร์ฯ ) เรื่อยมา จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ฯ ได้ประกาศรวมอาณาจักรล้านนาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์ฯ โดยสถาปนาเป็น “มณฑลพายัพ” ของกรุงรัตนโกสินทร์ฯ เมื่อ พ.ศ. 2442 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n                                                              <a href=\"/node/49458\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20256/l_ar.jpg\" height=\"284\" style=\"width: 38px; height: 25px\" /> </a>       <a href=\"/node/49464\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20256/r_ar.jpg\" height=\"284\" style=\"width: 34px; height: 26px\" />  </a> <br />\n \n</p>\n', created = 1720449406, expire = 1720535806, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a4fa5e40bf9ddb673da961a18d8818c1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาณาจักรล้านนา

                                      

 

อาณาจักรโบราณสำคัญบริเวณดินแดนประเทศไทย

ขอบคุณภาพจาก : http://www.chiangmai-thailand.net/lanna_history_adeet-putjubun/DSC-

พญาแสนพู (พ.ศ.1868 – 1877)  พระองค์แต่งตั้งให้ท้าวคำฟู ซึ่งเป็นพระราชโอรสไปครองเมืองเชียงใหม่ ส่วนพระองค์ยังคงประทับอยู่ที่เชียงราย  ในปี พ.ศ.1870 ได้สร้างเมืองเชียงแสนในบริเวณเมืองเงินยาง มีเป้าหมายเพื่อป้องกันศึกด้านเหนือ เพราะเชียงแสนตั้งริมแม่น้ำโขงและใช้แม่น้ำโขงเป็นคูเมืองธรรมชาติ  หลังจากสร้างเชียงแสนแล้ว พญาแสนพูประทับที่เมืองเชียงรายตลอดรัชสมัย 

   พญาคำฟู (พ.ศ. 1877 – 1879)  พญาคำฟูประทับที่เมืองเชียงแสน ส่วนเมืองเชียงใหม่ทรงแต่งตั้งให้ท้าวผายู ปกครองแทน อาณาจักรล้านนาในสมัยนี้มีความเข้มแข็งเห็นได้จากนโยบายขยายอาณาเขตไปทางตะวันออก โดยเริ่มทำสงครามกับพะเยา สามารถยึดเมืองพะเยาได้ เมืองพะเยาจึงถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนานับแต่นั้นมา หลังจากยึดพะเยาได้แล้ว พญาคำฟูขยายอำนาจไปยังเมืองแพร่แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ

    พญาผายู  (พ.ศ.1879 – 1898)  เสนาอำมาตย์ทั้งหลายอภิเษกท้าวยายูเป็นกษัตริย์ล้านนา พญาผายูไม่เสด็จไปประทับที่เมืองเชียงแสน ทรงประทั้บที่เชียงใหม่ เหตุที่ย้ายที่ประทับลงมาเชียงใหม่ อาจเป็นเพราะเขตทางตอนบนมีความมั่นคง โดยสามารถสร้างเมืองเชียงแสนเป็นปราการป้องกันศึกฮ่อได้อย่างเข้มแข็ง และสามารถผนกพะเยาได้ ขณะเดียวกั้นพญาผายูทรงสร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับเชียงของในเขตลุ่มน้ำกก  โดยการอภิเษกกับพระนางจิตราเทวี ราชธิดาของเจ้าเมืองเชียงของ   พญาผายูทรงสร้างวัดลีเชียงพระ (วัดพระสิงห์) ให้เป็นวัดสำคัญของเชียงใหม่

    พระเจ้ากือนา (พ.ศ.1898 – 1928)  พระองค์ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและทรงปรีชาสามารถในวิชาศิลปะศาสตร์ทุกแขนง  บ้านเมืองมีความอุดมสมบูรณ์ทั่วไป  เหตุการณ์สำคัญในสมัยพญากือนา คือ การรับเอาพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์จากสุโขทัย  โดยก่อนหน้านั้นพระพุทธศาสนาสืบทอดจากหริภุญไชย และยังดั้บอิทธิพลจากหงสาวดีและอังวะ ผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิม

    พญากือนารับพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์จากสุโขทัย  โดยมีพระประสงค์จะให้พระภิกษุอรัญญวาสีมาอยู่ที่เชียงใหม่  และสามารถทำสังฆกรรมได้ทั้งหมด พญากือนาทรงอาราธนาพระสุมนเถระจากสุโขทัย ใน พ.ศ. 1912 พระสุมนเถระเดินทางถึงเมืองหริภุญไชยพร้อมทั้งอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาด้วย  พระสุมนเถระ จำพรรษาที่วัดพระยืนในเมืองหริภุญไชย พญากือนาทรงเลือมใสศรัทธาในพระสุมนเถระมาก เนื่องจากมีความเชื่อว่าพระภิกษุอรัญญวาสีเป็นพระภิกษุที่มีความรู้ลึกซึ้งในพระพุทธศาสนาและถือกันว่าพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์เป็นพระพุทธศาสนาที่บริสุทธิ์ เพราะทการสังฆกรรมถูกต้องมาแต่โบราณ  ดังนั้นพญากือนาจึงอาราธนาพระนิกายเดิม อันสืบเนื่องมาจากสมัยพระนางจามเทวีให้บวชใหม่ถึง 8,400 รูป

     ใน พ.ศ. 1914 พญากือนาทรงสร้างวัดบุปผาราม หรือวัดสวนดอกในอุทธยานป่าไม้พะยอม  เพื่อเป็นที่จำพรรษาของพระสุมนเถระ  และได้สร้างเวียงสวนดอกให้เป็นเวียงพระธาตุ เมื่อประมาณ พ.ศ. 1916 พญากือนาโปรดให้สร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งพระสุมนเถระอัญเชิญมาจากสุโขทัย  โดยประดิษฐานไว้ที่วัดพระธาตุดอยสุเทพ และวัดบุปผาราม พระสุมนเถรจำพรรษาอยู่ทีวัดบุปผารามตลอดจนมรณภาพใน พ.ศ.1932 นับว่าพระสุมนเถระมีบทบาทสำคัญต่อการวางรากฐานพุทธศาสนาลังกาวงศ์ในเชียงใหม่

   วัดบุปผารามเป็นศูนย์กลางของพุทธศษสนานิกายลังกาวงศ์ หรือเรียกว่า นิกายวัดสวนดอก หรือนิกายรามัญ เนื่องจากพระสุมนเถระได้บวชเรียนจากสำนักพระมหาสวามีอุทุมพรที่เมืองเมาะตะมะในรามัญประเทศ  พญากือนาทรงสนับสนุนให้พระภิกษุจากเมืองต่างๆ เช่น เชียงแสน เชียงตุง เดินทางมาศึกษาพระพุทธศาสนา ที่วัดบุปผาราม เชียงใหม่จึงเป็นศูนย์กลางของศาสนาแทนหริภุญไชย

    พญาแสนเมืองมา  (พ.ศ. 1928 – 1944)  เป็นโอรสของพญากือนา เมื่อขึ้นครองราช ท้าวมหาพรหม พระอนุชาของพระเจ้ากือนาซึ่งครองอยู่ที่เมืองเชียงราย ได้ยกทัพมาแย่งชิงเมืองเชียงใหม่ แต่ประสบความล้มเหลว ท้าวมหาพรหมจึงขอความช่วยเหลือไปที่กรุงศรีอยุธยา ซึ่งเป็นสมัยของขุนหลวงพะงั่ว  พ.ศ. 1929 กองทัพกรุงศรีอยุธยาจึงยกเข้ามาตีล้านนา  โดยเข้าปล้นเมืองลำปาง ซึ่งไม่สำเร็จ กองทัพอยุธยาเป็นฝ่ายล่าถอยกลับไปครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่อยุธยาขึ้นมาทำสงครามกับล้านนา ส่วนท้าวมหาพรหมภายหลังขัดแย้งกับพญาใต้ จึงกลับมาล้านนา พญาแสนเมืองมาส่งให้ไปครองเมืองเชียงรายเช่นเดิม   หลังจากทีอยุธยาตีล้านนาไม่สำเร็จ พญาแสนเมืองมาได้ขยายอำนาจลงสู่ทางใต้เมื่อได้โอกาส เพราะสุโขทัยขอกำลังกองทัพล้านนาลงมาช่วยต่อสู้กับอยุธยา แต่สถานการณ์เปลี่ยนแปลง เพราะขุนหลวงพะงั่วเสด็จสวรรคตก่อน ฝ่ายสุโขทัยจึงหันมาโจมตีล้านนา กองทัพล้านนาพ่ายแพ้เสียหายมาก   ในสมัยพญาแสนเมืองมาได้ทรงเริ่มสร้าง “เจดีย์หลวง” เมื่อ พ.ศ. 1934 ซึ่งไม่แล้วเสร็จในสมัยของพระองค์

     พญาสามประหญาฝั่งแกน (พ.ศ. 1945 – 1985)   เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ ท้าวยี่กุมกาม เจ้าเมืองเชียงรายซึ่งเป็นพระเชษฐาไม่พอใจที่ไม่ได้ครองราชย์ จึงขอกองทัพจากสุโขทัยมาช่วยรบแย่งเมืองเชียงใหม่  ผลท้าวยี่กุมกามพ่ายแพ้หนีไปพึ่งเจ้าเมืองสุโขทัย   หลังจากนั้นพญาสามประหญาฝั่งแกนต้องทำสงครามกับฮ่อ  สาเหตุเพราะฮ่อไม่พอใจที่ล้านนาไม่ส่งส่วยให้  พญาสามประหญาฝั่งแกนเกณฑ์ทัพจากเชียงใหม่ เชียงแสน ฝาง เชียงราย เชียงของ และพะเยา เข้าทำศึกกับฮ่อ นับเป็นสงครามใหญ่ กองทัพฮ่อพ่ายแพ้ ถูกกองทัพล้านนาติดตามขับไล่จนสุดดินแดนสิบสองปันนา และยังได้ตั้งเมืองยองเป็นเมืองขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ ให้เป็นเมืองหน้าด่านตอนบนเพื่อต่อต้านฮ่อ

    ในสมัยพระยาติโลกราช (พ.ศ.1948 – 2030)  เป็นโอรสอันดับที่ 6 ของพญาประหญาสามฝั่งแกน  เดิมชื่อ ท้าวลก ครองเมืองพร้าว   เมื่อขึ้นครองราชย์แล้วทรงสร้างความมั่นคงภายในอาณาจักรล้านนา โดยใช้เวลาประมาณ 10 ปีสร้างอาณาจักรล้านนาให้เข็มแข็ง ดังจะเห็นได้จากการขยายอำนาจลงทางใต้ ทรงทำสงครามกับอยุธยาในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ทรงแก้ไขการขยายอำนาจของพระเจ้าติโลกราช โดยเสด็จขึ้นครองเมืองพิษณุโลก ในพ.ศ. 2006  ในการทำสงครามกับล้านนา พระบรมไตรโลกนาถนอกจากจะทรงใช้กำลังทหารโดยตรงแล้ว ยังใช้พุทธศาสนาและไสยศาสตร์เป็นเครื่องมือ แต่ไม่สำเร็จ ซึ่งเป็นเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้คนในสมัยนั้นมีความเชื่อในเรื่องของไสยศาสตร์มาก จนถึงปี พ.ศ. 2018 อยุธยากับล้านนาก็เป็นไมตรีกัน

      พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองมาก  พระองค์ทรงเลื่อมใสและทำนุบำรุงพุทธศษสนานิกายสีหล  โดยพระองค์อาราธนาพระมหาเมธังกร พระภิกษุนิกายสีหลจากเมืองลำพูนมาจำพรรษาที่วัดราชมณเฑียร  และทรงสถาปนาให้พระมหาเมธังกรเป็นพระมหาสวามี และพระองค์ทรงผนวชชั่วคราว ณ วัดป่าแดงมหาวิหารอีกด้วย  การสนับสนุนคณะสงฆ์นิกายสีหลทำให้พุทธศาสนาลังกาวงศ์ใหม่เจริญรุ่งเรืองอย่างมากเป็นที่เลื่อมใสของผู้คน และมีพระภิกษุบวชใหม่ในนิกายสีหลเพิ่มขึ้น นิกายสีหลเน้นการศึกษาภาษาบาลี และการปฏิบัติพระธรรมวินัยที่ถูกต้อง ทำให้การศึกษาเล่าเรียนด้านปริยัติธรรมเจริญสูง พระเจ้าติโลกราชทรงยกย่องภิกษุที่มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฏก พระภิกษุในสมัยนี้ที่มีชื่อเสียงเช่น พระธรรมทิน พระญาณกิตติเถระ  พระสิริมังคลาจารย์ เป็นต้น

       ในปีพ.ศ. 2020 ทรงได้โปรดเกล้าให้มีการทำ สังคายนาพระไตรปิฎกขึ้นในปี พ.ศ.2020 ที่วัดโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) ใช้เวลา 1 ปีจึงสำเร็จ  ถือเป็นหลักปฏิบัติหลักปฏิบัติของพระสงฆ์นิกายต่างๆ ในล้านนาสืบมา

       พระเจ้าติโลกราชทรงสร้างวัดหลายวัด เช่น วัดมหาโพธาราม วัดราชมณเฑียร วัดป่าตาล วัดป่าแดงมหาวิหาร เป็นต้น  ทรงต่อเดิม     เจดีย์หลวงและทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตจากวัดพระธาตุลำปางหลวงมาประดิษฐานไว้ที่เจดีย์หลวง

       พญายอดเชียงราย (พ.ศ. 2030 – 2038)  ทรงเป็นโอรสของท้าวบุญเรือง โอรสองค์เดียวของพระเจ้าติโลกราช พญายอดเชียงรายปกครองบ้านเมือง 8 ปี แต่ไม่มีชื่อเสียงเป็นทีรู้จัก  ชินกาลมาลีปกรณ์เป็นหลักฐานที่กล่าวถึงพระองค์มากกว่าหลักฐานชิ้นอื่น ก็ระบุว่าพระราชกรณียกิจแต่เพียงว่าทรงถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าติโลกราช  ณ วัดมหาโพธาราม ครั้นถวายพระเพลิงเสร็จแล้ว ทรงสร้างสถูปใหญ่บรรจุพระอัฐิไว้ที่วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด)

      พญาแก้ว (พ.ศ. 2038 – 2068)  ทรงเป็นโอรสของพญายอดเชียงราย โดยทำสงครามกับอยุธยา ณ บริเวณหัวเมืองชายแดน พ.ศ.2050 พญาแก้ว่สงกองทัพตีเมืองสุโขทัยแต่ไม่สำเร็จ จากนั้นสงครามกับอยุธยาก็เกิดขึ้นหลายครั้ง จนหลัง พ.ศ.2058 พญาแก้วก็ไม่ได้ส่งทัพไปตีอยุธยาอีก และทางอยุธยาก็ไม่ได้ส่งทัพมาตีล้านนาเช่นกัน

    ภายหลังสิ้นสมัยของพญาแก้ว (พ.ศ.2038 – 2068)  อาณาจักรล้านนาเริ่มแตกแยก เกิดการแย่งชิงสมบัติกันบ่อยครั้ง อำนาจการปกครองได้ตกไปอยู่กับบรรดาขุนนาง เสนา อำมาตย์ ซึ่งสามารถที่จะแต่งตั้งหรือถอดถอนกษัตริย์ได้  ความขัดแย้งแตกแยกนี้ทำให้พม่าโดยพระเจ้าบุเรงนองได้ยกทัพมาล้อมเมืองเชียงใหม่ ใช้เวลาเพียง 3 วันก็สามารถยึดเมืองเชียงใหม่ได้อย่างง่ายดาย และได้ใช้เชียงใหม่เป็นฐานทัพในการเข้าโจมตีกรุงศรีอยุธยา ต่อไป จนสามารถยึดกรุงศรีอยุธยาได้ ในสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ เมื่อปี พ.ศ.2112

   เมื่อถึงสมัยธนบุรี  ผู้นำล้านนา ได้แก่พระเจ้ากาวิละ และพญาจ่าบ้าน (บุญมา)  ต้องการเป็นอิสระจากการยึดครองพม่า ซึ่งได้ยึดครองสมัยพม่ายกทัพเข้าตึกรุงศรีอยุธยา  จึงได้สวามิภักดิ์ต่อสมเด็จพระเจ้าตากสิน  ขอกำลังสนับสนุนไปตีเชียงใหม่  สามารถยึดเมืองเชียงใหม่กลับคืนมาได้ เมื่อ พ.ศ. 2317  สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ จึงโปรดเกล้าให้เจ้ากาวิละเป็นเจ้าเมืองลำปาง  พญาจ่าบ้านเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่

     ตอนปลายสมัยธนบุรี เมืองเชียงใหม่ถูกทิ้งร้างจนถึงสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ฯ ได้โปรดเกล้าให้พระเจ้ากาวิละไปเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ แทนพญาจ่าบ้านที่เสียชีวิตลง   จนถีง พ.ศ. 2347 กองทัพล้านนาได้ร่วมกับกองทัพจากกรุงเทพฯ (รัตนโกสินทร์) ช่วยกันบขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงแสนได้สำเร็จ  ทำให้ล้านนาหลุดพ้นจากการยึดครองของพม่าได้สำเร็จ

     ล้านนาเป็นประเทศราชของไทย (กรุงรัตนโกสินทร์ฯ ) เรื่อยมา จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ฯ ได้ประกาศรวมอาณาจักรล้านนาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์ฯ โดยสถาปนาเป็น “มณฑลพายัพ” ของกรุงรัตนโกสินทร์ฯ เมื่อ พ.ศ. 2442

                                                                         
 

สร้างโดย: 
น.ส. จุฑารัตน์ พุลี และ ครู วราภรณ์ สุขสายชล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 450 คน กำลังออนไลน์