• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:263a9c64fdfc7f545de81e21de9487e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20643/2009-11-30_143641.jpg\" width=\"47\" height=\"43\" /> <b><span style=\"background-color: #800080; color: #cc99ff\">คำทักทายภาษาญี่ปุ่นที่ไม่มีในภาษาไทย</span></b><img src=\"/files/u20643/2009-11-30_143641.jpg\" width=\"47\" height=\"43\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n            ในภาษาญี่ปุ่นมีคำทักทายที่ไม่มีหรือไม่ใช้ในภาษาไทยเยอะ เป็นคำที่ชาวญี่ปุ่นพูดเองก็ไม่ได้คิดถึงความหมายเลย และพูดกันเพื่อให้มีระเบียบหรือจังหวะในชีวิตประจำวันเท่านั้น แต่ก็ยังมีคำบางคำที่มีความสำคัญมาก ซึ่งถ้าไม่พูดแล้วทำให้คนอื่นเกิดความรู้สึกไม่ค่อยดีก็ได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #800080; color: #cc99ff\">Itte kimasu - Itte rasshai </span></b><br />\n            <br />\nเมื่อออกจากบ้านไปข้างนอกเพื่อไปทำงานหรือไปโรงเรียน คนที่ออกไปจะบอกว่า Itte kimasu (จะไปแล้วกลับมานะ) และคนที่อยู่ต่อในบ้านจะบอกว่า Itte rasshai (ขอให้ไปเถอะนะ) แต่คุณไม่ต้องสนใจความหมายที่แปลตรงมา คำสองคำนี้จะใช้เป็นคู่กัน ในครอบครัวชาวญี่ปุ่นจะพูดกันทุกวัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #800080; color: #cc99ff\">Tadaima - Okaeri nasai </span></b><br />\n            <br />\nเมื่อกลับมาที่บ้านจากข้างนอก คนที่กลับมาจะบอกว่า Tadaima (เพิ่ง(กลับมา)) และคนที่อยู่ในบ้านจะบอกว่า Okaeri nasai ((ยินดีที่)กลับมานะ) เป็นคำคู่กันเหมือนกันที่ใช้ในครอบครัวชาวญี่ปุ่น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #800080; color: #cc99ff\">Itadaki masu - Gochisou sama (deshita)</span></b><br />\n            <br />\nก่อนจะเริ่มทานอาหารกัน พูดกันว่า Itadaki masu ซึ่งแปลตรงว่า ขอรับประทาน และเวลาทานเสร็จแล้ว ก็จะพูดว่า Gochisou sama (deshita) ซึ่งแปลตรงว่า เป็นอาหารมื้อวิเศษ คำสองคำนี้ค่อนข้างสำคัญ เมื่อมีโอกาสที่คนญี่ปุ่นชวนไปทานอาหารด้วยกันที่บ้าน การพูดคำนี้ถือว่าเป็นธรรมเนียมที่ต้องทำ คำนี้มีความหมายในการแจ้งจังหวะที่เริ่มทานและจบการทานอาหารด้วยกัน ซึ่งตามปกติชาวญี่ปุ่นถือว่าการเริ่มทานข้าวก่อนคนอื่นโดยไม่ได้อนุญาตจาก เจ้าภาพ เป็นสิ่งที่เสียมารยาท แต่ในงานเลี้ยงที่ร้านอาหารจะไม่พูดคำนี้ ตามปกติจะพูดเฉพาะในการทานอาหารที่บ้าน หรือในกรณีที่ทานอาหารกันหลายคนเป็นระเบียบ เช่นอาหารกลางวันของโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับที่ทางโรงเรียนจัดให้ทุกวัน (Gakkou kyuushoku)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20643/home_icon01.jpg\" width=\"98\" height=\"63\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20643/line57.gif\" width=\"530\" height=\"68\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726843224, expire = 1726929624, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:263a9c64fdfc7f545de81e21de9487e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำทักทายภาษาญี่ปุ่นที่ไม่มีในภาษาไทย

 

คำทักทายภาษาญี่ปุ่นที่ไม่มีในภาษาไทย

 

            ในภาษาญี่ปุ่นมีคำทักทายที่ไม่มีหรือไม่ใช้ในภาษาไทยเยอะ เป็นคำที่ชาวญี่ปุ่นพูดเองก็ไม่ได้คิดถึงความหมายเลย และพูดกันเพื่อให้มีระเบียบหรือจังหวะในชีวิตประจำวันเท่านั้น แต่ก็ยังมีคำบางคำที่มีความสำคัญมาก ซึ่งถ้าไม่พูดแล้วทำให้คนอื่นเกิดความรู้สึกไม่ค่อยดีก็ได้

 

Itte kimasu - Itte rasshai
            
เมื่อออกจากบ้านไปข้างนอกเพื่อไปทำงานหรือไปโรงเรียน คนที่ออกไปจะบอกว่า Itte kimasu (จะไปแล้วกลับมานะ) และคนที่อยู่ต่อในบ้านจะบอกว่า Itte rasshai (ขอให้ไปเถอะนะ) แต่คุณไม่ต้องสนใจความหมายที่แปลตรงมา คำสองคำนี้จะใช้เป็นคู่กัน ในครอบครัวชาวญี่ปุ่นจะพูดกันทุกวัน

 

Tadaima - Okaeri nasai
            
เมื่อกลับมาที่บ้านจากข้างนอก คนที่กลับมาจะบอกว่า Tadaima (เพิ่ง(กลับมา)) และคนที่อยู่ในบ้านจะบอกว่า Okaeri nasai ((ยินดีที่)กลับมานะ) เป็นคำคู่กันเหมือนกันที่ใช้ในครอบครัวชาวญี่ปุ่น

 

Itadaki masu - Gochisou sama (deshita)
            
ก่อนจะเริ่มทานอาหารกัน พูดกันว่า Itadaki masu ซึ่งแปลตรงว่า ขอรับประทาน และเวลาทานเสร็จแล้ว ก็จะพูดว่า Gochisou sama (deshita) ซึ่งแปลตรงว่า เป็นอาหารมื้อวิเศษ คำสองคำนี้ค่อนข้างสำคัญ เมื่อมีโอกาสที่คนญี่ปุ่นชวนไปทานอาหารด้วยกันที่บ้าน การพูดคำนี้ถือว่าเป็นธรรมเนียมที่ต้องทำ คำนี้มีความหมายในการแจ้งจังหวะที่เริ่มทานและจบการทานอาหารด้วยกัน ซึ่งตามปกติชาวญี่ปุ่นถือว่าการเริ่มทานข้าวก่อนคนอื่นโดยไม่ได้อนุญาตจาก เจ้าภาพ เป็นสิ่งที่เสียมารยาท แต่ในงานเลี้ยงที่ร้านอาหารจะไม่พูดคำนี้ ตามปกติจะพูดเฉพาะในการทานอาหารที่บ้าน หรือในกรณีที่ทานอาหารกันหลายคนเป็นระเบียบ เช่นอาหารกลางวันของโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับที่ทางโรงเรียนจัดให้ทุกวัน (Gakkou kyuushoku)

 

 

 

สร้างโดย: 
น.ส. สราลี พิมพ์สมาน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์