• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8d62cca69bee58aaab7dd681876f6e6b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #0000FF\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #FF99CC\">ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior pituitary )</span></span></span></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n <img height=\"230\" width=\"400\" src=\"/files/u20255/hor29_0.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor29.jpg  \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nต่อมใต้สมองส่วนหน้า เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาทหรือ<br />\nรีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell)  <br />\nที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสเสียก่อนสร้างและหลั่งฮอร์โมน 7 ชนิด คือ  \n<p>\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<strong> </strong><img align=\"left\" height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/th_070505lf_m-cola71a_o_oms.gif\" /><strong>1. ACTH( Adenocorticotropic hormone or Corticotropin)</strong> <br />\nกระตุ้นการเจริญเติบโตสั่งเคราะห์ฮอร์โมนจากเลือกต่อมหมวกไต คือ ฮอร์โมนคอร์ติซอลกระตุ้นการกระจาย<br />\nตัวของเมลานินใต้ผิวหนัง กระตุ้นการสลายตัวของ ไขมัน กระตุ้นการส่งผ่านกรดอะมิโนและกลูโคสที่กล้ามเนื้อ\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"172\" width=\"225\" src=\"/files/u20255/22.png\" /><img height=\"160\" width=\"216\" src=\"/files/u20255/33.png\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/adenal-cortex.PNG\n</div>\n<div>\n<strong></strong><img align=\"left\" height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/th_070507_single-cola71a-cola71a_o_oms.gif\" /><strong></strong>\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<strong>2. MSH</strong> ควบคุมสีผิว\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<img align=\"left\" height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/th_070512lf-cola71a-cola71a_o_oms.gif\" /><strong></strong>\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<strong>3. GH (Growth hormone)</strong> <br />\nควบคุมการเจริญเติบโตตามปกติของร่างกาย ลดการสะสมไขมันรักษาระดับน้ำตาลกลูโคสให้คงที่  \n</div>\n<div>\n <br />\n<u>อวัยวะเป้าหมาย</u> : อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ได้แก่ กระดูก กล้ามเนื้อที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายทั้งหมด<br />\nโดยฮอร์โมนจะมีผลทำให้เซลล์เพิ่มการนำกรดอะมิโนเข้าสู่เซลล์และเพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนของเซลล์ \n<p><u>หน้าท</u>ี่ : ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายทั่วๆไป </p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\">ความผิดปกติ</span></strong> \n</p></div>\n<div>\n<br />\n<u>1. ฮอร์โมนมากเกินไป</u> \n<p>- เด็ก ทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายสูงผิดปกติเรียกว่า <strong>ไจแอนทิซึม( gigantism)</strong> พบในวัยรุ่น<br />\nไม่ค่อยพบในวัยเด็ก อาจเกิดจากการที่มีเนื้องอกของเซลล์ที่สร้างฮอร์โมน หรือของไฮโพทาลามัส <br />\nทำให้มีการสร้าง ฮอร์โมนมากกว่าปกติ\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"259\" width=\"274\" src=\"/files/u20255/Gigantism.png\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/Gigantism.PNG \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n- ผู้ใหญ่ ร่างกายจะไม่สูงใหญ่กว่าปกติมากนักแต่ส่วนที่เป็นกระดูกตาม แขน ขา คาง กระดูกขากรรไกร<br />\nและกระดูกแก้มยังตอบสนองต่อฮอร์โมนนี้อยู่ทำให้เกิดความผิดปกติของกระดูกตามบริเวณใบหน้า<br />\nนิ้วมือ นิ้วเท้า เรียกอาการดังกล่าวนี้ว่า <strong>&quot;อะโครเมกาลี&quot;( acromegaly )</strong>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"282\" width=\"292\" src=\"/files/u20255/acromegaly.png\" /> \n<p>ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/acromegaly.PNG\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<br />\n<u>2.ฮอร์โมนน้อยเกินไป</u> \n<p>- เด็ก ทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายน้อยผิดปกติเกิดลักษณะเตี้ยแคระเรียกว่า <strong>Dwarfism</strong>\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"133\" width=\"166\" src=\"/files/u20255/pitu11.png\" /> \n</div>\n<div>\n<br />\nที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/pitu11.PNG  \n</div>\n<div>\n<p>- ผู้ใหญ่ จะไม่มีอาการปรากฏเด่นชัดแต่พบว่าระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดจะต่ำกว่าคนปกติ<br />\nทำให้ร่างกายไม่สามารถทนต่อความเครียดต่างๆทางอารมณ์ได้และสมองอาจได้รับอันตราย<br />\nจากการขาดน้ำตาลกลูโคสไปเลี้ยงหากเป็นมากอาจถึงแก่ชีวิตได้ </p>\n<p><strong></strong><img align=\"left\" height=\"74\" width=\"62\" src=\"/files/u20255/th_00556398_cola71a_o_oms.gif\" /><strong></strong>\n</p></div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<strong>4.PRL</strong> <br />\nกระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนมในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์และขณะเลี้ยงทารกและพบว่าขณะที่ทารกดูดนมแมจะมีการกระตุ้น่<br />\nให้หลั่งฮอร์โมนนี้เพิ่มมากขึ้นทำให้มีน้ำนมเลี้ยงทารกตลอดเวลาแต่ถ้ามารดาที่ไม่ให้นมทารกการหลั่งฮอร์โมนนี้จะ<br />\nน้อยลงมีผลทำให้ต่อมน้ำนมหยุดสร้างน้ำนม\n<p><strong></strong>\n</p></div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<strong></strong><img align=\"left\" height=\"40\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/th_1090320azidongst002n3.gif\" /><strong></strong>\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<strong>5.FSH</strong> <br />\nกระตุ้น และควบคุมการเจริญเติบโตและสร้างฮอร์โมนเพศหญิงของรังไข่ การตก ไข่ (Ovalation)<br />\nการสร้างเชื้ออสุจิในเพศชาย\n</div>\n<div>\n<p><strong></strong><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/th_5635706183e5.gif\" /><strong>6.LH  </strong>\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"173\" width=\"393\" src=\"/files/u20255/interstitial-cell.png\" />\n</div>\n<div>\n<br />\nที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/interstitial-cell.PNG\n<p>\n<strong>ในผู้ชาย</strong><br />\nอวัยวะเป้าหมาย : กลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล ( interstitial cell ) หรือ เซลล์เลย์ดิก (leydig cell)ที่แทรกอยู่<br />\nระหว่างหลอดสร้างอสุจิ<br />\nหน้าที่ : กระตุ้นให้ กลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล หรือ เซลล์เลย์ดิกสร้างฮอร์โมนเพศชาย คือเทสโทสเทอโรน</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<p><img height=\"429\" width=\"366\" src=\"/files/u20255/4.png\" />  </p>\n<p>\nที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/follicle.PNG\n</p></div>\n<div>\n<p><strong>ในผู้หญิง</strong> <br />\nอวัยวะเป้าหมาย : ฟอลลิเคิล ( follicle ) ในรังไข่ <br />\nหน้าที่ :กระตุ้นการตกไข่จากฟอลลิเคิลและกระตุ้นให้เกิดคอร์ปัสลูเทียมและสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน<br />\nทำหน้าที่ร่วมกับฮอร์โมนอีสโทรเจนทำให้มีการเปลี่ยนแปลงที่รังไข่และมดลูกเพื่อรอรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"159\" width=\"235\" src=\"/files/u20255/5.png\" />\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/follicle.PNG\n</div>\n<div>\n<br />\n<strong></strong><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/th_c4bfc7c7c7d1c0dc_o_oms.gif\" /><strong>7. TSH</strong> หลั่ง มากตอนกลางคืนขณะหลับ ลดลงหลังตื่น กระตุ้นและควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์ โดยกระตุ้น<br />\nการเจริญเติบโตของต่อมให้มีการสร้างและการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมคือ T3 และ T4 กระตุ้นการสลายไขมัน<br />\nจากเนื้อเยื่อไขมัน\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"224\" width=\"369\" src=\"/files/u20255/t3.png\" /> \n<p>ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/Thyroid-Gland.PNG </p>\n<p>อาจกล่าวได้ว่า\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong><u><em>ต่อมใต้สมองส่วนหน้ามีหน้าที่สำคัญในการกำหนดปริมาณฮอร์โมนของร่างกายหลายชนิดให้อยู่ในระดับพอเหมาะ</em></u></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n  \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"11\" width=\"334\" src=\"/files/u20255/reply-00000027655.gif\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/43035\"><img height=\"35\" width=\"150\" src=\"/files/u20255/home.jpg\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n', created = 1714810516, expire = 1714896916, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8d62cca69bee58aaab7dd681876f6e6b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior pituitary )

 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior pituitary )
 
 
 
ที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor29.jpg  
 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาทหรือ
รีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell)  
ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสเสียก่อนสร้างและหลั่งฮอร์โมน 7 ชนิด คือ  

1. ACTH( Adenocorticotropic hormone or Corticotropin)
กระตุ้นการเจริญเติบโตสั่งเคราะห์ฮอร์โมนจากเลือกต่อมหมวกไต คือ ฮอร์โมนคอร์ติซอลกระตุ้นการกระจาย
ตัวของเมลานินใต้ผิวหนัง กระตุ้นการสลายตัวของ ไขมัน กระตุ้นการส่งผ่านกรดอะมิโนและกลูโคสที่กล้ามเนื้อ
ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/adenal-cortex.PNG
 
 
2. MSH ควบคุมสีผิว
 
 
 
 
 
3. GH (Growth hormone)
ควบคุมการเจริญเติบโตตามปกติของร่างกาย ลดการสะสมไขมันรักษาระดับน้ำตาลกลูโคสให้คงที่  
 
อวัยวะเป้าหมาย : อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ได้แก่ กระดูก กล้ามเนื้อที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายทั้งหมด
โดยฮอร์โมนจะมีผลทำให้เซลล์เพิ่มการนำกรดอะมิโนเข้าสู่เซลล์และเพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนของเซลล์

หน้าที่ : ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายทั่วๆไป

ความผิดปกติ 


1. ฮอร์โมนมากเกินไป

- เด็ก ทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายสูงผิดปกติเรียกว่า ไจแอนทิซึม( gigantism) พบในวัยรุ่น
ไม่ค่อยพบในวัยเด็ก อาจเกิดจากการที่มีเนื้องอกของเซลล์ที่สร้างฮอร์โมน หรือของไฮโพทาลามัส
ทำให้มีการสร้าง ฮอร์โมนมากกว่าปกติ

 
 

ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/Gigantism.PNG
- ผู้ใหญ่ ร่างกายจะไม่สูงใหญ่กว่าปกติมากนักแต่ส่วนที่เป็นกระดูกตาม แขน ขา คาง กระดูกขากรรไกร
และกระดูกแก้มยังตอบสนองต่อฮอร์โมนนี้อยู่ทำให้เกิดความผิดปกติของกระดูกตามบริเวณใบหน้า
นิ้วมือ นิ้วเท้า เรียกอาการดังกล่าวนี้ว่า "อะโครเมกาลี"( acromegaly )
 

ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/acromegaly.PNG


2.ฮอร์โมนน้อยเกินไป

- เด็ก ทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายน้อยผิดปกติเกิดลักษณะเตี้ยแคระเรียกว่า Dwarfism

 

ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/pitu11.PNG  

- ผู้ใหญ่ จะไม่มีอาการปรากฏเด่นชัดแต่พบว่าระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดจะต่ำกว่าคนปกติ
ทำให้ร่างกายไม่สามารถทนต่อความเครียดต่างๆทางอารมณ์ได้และสมองอาจได้รับอันตราย
จากการขาดน้ำตาลกลูโคสไปเลี้ยงหากเป็นมากอาจถึงแก่ชีวิตได้

 
4.PRL
กระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนมในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์และขณะเลี้ยงทารกและพบว่าขณะที่ทารกดูดนมแมจะมีการกระตุ้น่
ให้หลั่งฮอร์โมนนี้เพิ่มมากขึ้นทำให้มีน้ำนมเลี้ยงทารกตลอดเวลาแต่ถ้ามารดาที่ไม่ให้นมทารกการหลั่งฮอร์โมนนี้จะ
น้อยลงมีผลทำให้ต่อมน้ำนมหยุดสร้างน้ำนม

 
 
5.FSH
กระตุ้น และควบคุมการเจริญเติบโตและสร้างฮอร์โมนเพศหญิงของรังไข่ การตก ไข่ (Ovalation)
การสร้างเชื้ออสุจิในเพศชาย

6.LH  


ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/interstitial-cell.PNG

ในผู้ชาย
อวัยวะเป้าหมาย : กลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล ( interstitial cell ) หรือ เซลล์เลย์ดิก (leydig cell)ที่แทรกอยู่
ระหว่างหลอดสร้างอสุจิ
หน้าที่ : กระตุ้นให้ กลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล หรือ เซลล์เลย์ดิกสร้างฮอร์โมนเพศชาย คือเทสโทสเทอโรน

 

ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/follicle.PNG

ในผู้หญิง
อวัยวะเป้าหมาย : ฟอลลิเคิล ( follicle ) ในรังไข่
หน้าที่ :กระตุ้นการตกไข่จากฟอลลิเคิลและกระตุ้นให้เกิดคอร์ปัสลูเทียมและสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน
ทำหน้าที่ร่วมกับฮอร์โมนอีสโทรเจนทำให้มีการเปลี่ยนแปลงที่รังไข่และมดลูกเพื่อรอรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ


ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/follicle.PNG

7. TSH หลั่ง มากตอนกลางคืนขณะหลับ ลดลงหลังตื่น กระตุ้นและควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์ โดยกระตุ้น
การเจริญเติบโตของต่อมให้มีการสร้างและการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมคือ T3 และ T4 กระตุ้นการสลายไขมัน
จากเนื้อเยื่อไขมัน
 

ที่มา:http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/image/hormone/Thyroid-Gland.PNG

อาจกล่าวได้ว่า

ต่อมใต้สมองส่วนหน้ามีหน้าที่สำคัญในการกำหนดปริมาณฮอร์โมนของร่างกายหลายชนิดให้อยู่ในระดับพอเหมาะ
  
 
 
 
 
 
สร้างโดย: 
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.จุฑารัตน์ จริงธนสาร ผู้จัดทำ : นส.วิศัลยา ชินกาญจนโรจน์์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 442 คน กำลังออนไลน์