• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1d9bc516ec5b1b568a6cf0c79e1ea21f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #FFCC00\">ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex)</span></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/zingg-61no2.gif\" width=\"500\" height=\"500\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.mmi.mcgill.ca/mmimediasampler2002/images/zingg-61no2.gif\n</div>\n<div align=\"center\">\n<p>เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ของต่อมหมวกไต ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นสเตอรอยด์ <br />\nซึ่งสังเคราะห์จากคอเรสเทอรอลแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม</p>\n<p><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/48cacb46aa3da.gif\" /><strong>1.กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid)</strong> ป็นกลุ่มฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ควบคุมเมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ฮอร์โมนที่สำคัญได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) คอร์ติซอล เป็นฮอร์โมนที่ช่วยให้ร่างกายปรับตัวในภาวะเครียด (stress) เช่น ช็อค บาดเจ็บ เป็นต้น เมื่อร่างกายมีความเครียดจะทำให้ไฮโปทาลามัสหลั่งฮอร์โมน (corticotriphin releasing factor : CAF) ออกมา CRF จะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่ง ACTH และ ACTH จะกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ให้หลั่งคอร์ติซอล <br />\nบทบาทคือ เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือดโดยยับยั้งการทำงานของอินซูลินและกระตุ้นให้เซลล์ ตับเปลี่ยนกรดอะมิโน และกรดไขมันเป็นไกลโคเจนสะสมไว้ แล้วเปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อส่งเข้าสู้กระแสเลือด นอกจากนั้นยังทำหน้าที่ลดการอักเสบของร่างกายด้วย ดังนั้นจึงมีการนำมาทำเป็นยาลดการอักเสบที่ไม่ได้ติดเชื้อ </p>\n<p><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/48cacb46ab389.gif\" /><strong>2.มิเรอลาโรคลอติคอยด์ (mineralocorticoid)</strong> เป็นฮอร์โมนที่ช่วยรักษาสมดุลของน้ำและแร่ธาตุภายในร่งกายฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้คือ แอลโดสเทอโรน (aldosterone)ซึ่งจะหลั่งออกมามากขึ้นในขณะที่ร่างกายขาดน้ำหรือความเข้มข้นของโซเดียมใน เลิอดลดต่ำลง โดยทำหน้าที่กระตุ้นท่อไตให้ดูดซึมน้ำ และโซเดียมเข้าสู่กระแสเลือด และขับถ่ายโพแทสเซียมออกสู่ท่อไต </p>\n<p><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/48cacb46ab607.gif\" /><strong>3.ฮอร์โมนเพศ (sex hormone)</strong>อะดรีนัลคอร์เทกซ์สังเคราะห์ฮอร์โมนเพศ ทั้งชายและหญิง (เทสโทสเทอโรนและเอสโทรเจน) โดยจะผลิตฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนมาก แต่เมื่อเทียบกับการสังเคราะห์จากอวัยวะเพศแล้วถือว่าน้อยมาก ทำให้การสังเคราะห์จากอะดรีนัลคอร์เทกซ์มีผลน้อยมาก ยกเว้นฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนจะมีผลทำให้เกดขนที่รักแร้ หัวเหน่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"30\" width=\"243\" src=\"/files/u20255/105bo7.gif\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/43035\"><img height=\"35\" width=\"150\" src=\"/files/u20255/home.jpg\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n', created = 1714778925, expire = 1714865325, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1d9bc516ec5b1b568a6cf0c79e1ea21f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex)

ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex)
 
ที่มา:http://www.mmi.mcgill.ca/mmimediasampler2002/images/zingg-61no2.gif

เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ของต่อมหมวกไต ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นสเตอรอยด์
ซึ่งสังเคราะห์จากคอเรสเทอรอลแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม

1.กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) ป็นกลุ่มฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ควบคุมเมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ฮอร์โมนที่สำคัญได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) คอร์ติซอล เป็นฮอร์โมนที่ช่วยให้ร่างกายปรับตัวในภาวะเครียด (stress) เช่น ช็อค บาดเจ็บ เป็นต้น เมื่อร่างกายมีความเครียดจะทำให้ไฮโปทาลามัสหลั่งฮอร์โมน (corticotriphin releasing factor : CAF) ออกมา CRF จะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่ง ACTH และ ACTH จะกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ให้หลั่งคอร์ติซอล
บทบาทคือ เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือดโดยยับยั้งการทำงานของอินซูลินและกระตุ้นให้เซลล์ ตับเปลี่ยนกรดอะมิโน และกรดไขมันเป็นไกลโคเจนสะสมไว้ แล้วเปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อส่งเข้าสู้กระแสเลือด นอกจากนั้นยังทำหน้าที่ลดการอักเสบของร่างกายด้วย ดังนั้นจึงมีการนำมาทำเป็นยาลดการอักเสบที่ไม่ได้ติดเชื้อ

2.มิเรอลาโรคลอติคอยด์ (mineralocorticoid) เป็นฮอร์โมนที่ช่วยรักษาสมดุลของน้ำและแร่ธาตุภายในร่งกายฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้คือ แอลโดสเทอโรน (aldosterone)ซึ่งจะหลั่งออกมามากขึ้นในขณะที่ร่างกายขาดน้ำหรือความเข้มข้นของโซเดียมใน เลิอดลดต่ำลง โดยทำหน้าที่กระตุ้นท่อไตให้ดูดซึมน้ำ และโซเดียมเข้าสู่กระแสเลือด และขับถ่ายโพแทสเซียมออกสู่ท่อไต

3.ฮอร์โมนเพศ (sex hormone)อะดรีนัลคอร์เทกซ์สังเคราะห์ฮอร์โมนเพศ ทั้งชายและหญิง (เทสโทสเทอโรนและเอสโทรเจน) โดยจะผลิตฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนมาก แต่เมื่อเทียบกับการสังเคราะห์จากอวัยวะเพศแล้วถือว่าน้อยมาก ทำให้การสังเคราะห์จากอะดรีนัลคอร์เทกซ์มีผลน้อยมาก ยกเว้นฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนจะมีผลทำให้เกดขนที่รักแร้ หัวเหน่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น

 
 
 
 
สร้างโดย: 
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.จุฑารัตน์ จริงธนสาร ผู้จัดทำ : นส.วิศัลยา ชินกาญจนโรจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 443 คน กำลังออนไลน์

                       


Warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('', 'node/49282', '', '18.118.1.158', 0, '72f28ad8944f658a284a6db57ebcdc38', 12, 1714780132) in /home/tgv/htdocs/includes/database.mysql.inc on line 135