ร่ายดั้น

                                  Yell ร่ายดั้น Yell

 

   ลักษณะการแต่ง     ร่ายดั้นจะมีการแต่งเหมือนร่ายโบราณคือในบทหนึ่งๆ จะมีกี่วรรคก็ได้ มักจะมีตั้งแต่ ๕ วรรคขึ้นไป

                             วรรคหนึ่งใช้คำตั้งแต่ ๓ - ๘ คำ แต่ไม่เคร่งเรื่องการรับสัมผัสระหว่างชนิดคำ

                             ส่วนการจบบท บังคับเอก โท ตามบาทที่ ๓ และ๔  ของโคลงดั้นวิวิธมาลี  ถ้าคำที่ส่งสัมผัสเป็นคำเป็น

                             คำที่รับสัมผัสจะต้องเป็นคำเป็น แต่หากคำที่ส่งสัมผัสเป็นคำตาย คำที่รับสัมผัสจะต้องเป็นคำตายด้วย

                             และคำสุดท้ายของบทห้ามใช้คำตาย  สามารถเติมคำสร้อยในตอนสุดท้ายของบทได้ ๒ คำ

                             หรือ จะเติมสร้อยระหว่างวรรคก็ได้

   แผนผัง

ที่มาภาพ : น.ส.อานิสา  สอนพงษ์

   ตัวอย่าง

                          ศรีสุนทรประฌาม งามด้วยเบญจพิธ องค์ประดิษฐ์อุตดม อัญขยมประจงถวาย พร้อมด้วยกายวาจาจิต

                   มวลมารพ่ายแพ้สูญ สิ้นเสร็จ ทรงพระคุณล้ำล้น เลิศครู
 

                                                    จาก   ลิลิตดั้นมาตาปิตุคุณคาถาบรรยาย  พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)

 

สร้างโดย: 
น.ส.ยุวดี เปาอินทร์ , น.ส.อานิสา สอนพงษ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 163 คน กำลังออนไลน์