• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล', 'node/82319', '', '3.147.85.201', 0, 'c8e22c5c70e123daa4faa30c4e0ab43b', 127, 1716097904) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2739973999a60ba42e7df8ff51c96776' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>           <span style=\"color: #f5097f\">เมื่อ ไม่นานมานี้มีข่าวลือทางอินเตอร์เน็ทว่า การใช้สารจำพวก SLES , SLS จะมีอันตราย ทำให้เกิดมะเร็งหรืออันตรายอื่นๆนั้น ทางสมาคมผู้ผลิตเครื่องสำอาง ( CTFA ) ได้ออกมาชี้แจงว่า ข่าวดังกล่าวไม่มีมูลความจริงแต่อย่างไร  SLES และ SLS  สามารถใช้ ในการผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางได้ ทั้งนี้ปริมาณที่ใช้ต้องไม่สูงจนเกินไป จนเกิดการระคายเคือง ต่อผิวหนังได้ <br />\n</span> <span style=\"color: #fb03a7\"> </span></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">           <strong>II   Cationic Surfactant ( แคทไอออนนิค  เซอร์แฟกแท้นท์)</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">     สาร ในกลุ่มนี้เมื่อละลายน้ำแล้วส่วนหัวจะมีประจุบวก   นิยมใช้กันมากในอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยใช้เคลือบผ้า เพื่อให้ความลื่น และป้องกันไฟฟ้าสถิต สารจำพวกนี้ไม่มีความสามารถในการทำความสะอาด และไม่มีฟอง แต่สามารถเกาะเส้นผม และพื้นผิวได้ดี ให้ความลื่นจึงนิยมนำมาใช้ในครีมนวดผม หรือปรับผ้านุ่ม  สารตัวอย่างในกลุ่มนี้ที่ใช้ในครีมนวดผม ได้แก่   Dyhyquat AC , Rinse compound  </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">   </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">          <strong> III  Nonionic Surfactant ( นอนไอออนนิค  เซอร์แฟกแท้นท์)</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">     สาร ชนิดนี้เมื่อละลายน้ำแล้วจะไม่แตกตัวจึงไม่มีประจุ  คุณสมบัติของสารกลุ่มนี้จะแตกต่างกันไป ตั้งแต่ละลายน้ำได้ จนไม่ละลายน้ำ  สารที่ไม่ละลายน้ำมักใช้เป็นตัวดับฟอง และ emulsifier ส่วนสารที่ละลายน้ำมักใช้เป็นสารทำความสะอาด   แต่เนื่องจากมีฟองน้อยจึงมักใช้คู่กับ LAS   หรือ Anionic Surfactant   อื่นๆ   ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ใช้สารนี้ ได้ แก่  ผงซักฟอก  สารขจัดคราบฝังแน่น  ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ได้แก่   Nonylphenol  -9 ( NP -9 ) . </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">   <img border=\"0\" width=\"501\" src=\"http://www.zibbet.com/images/003/ChemistryConnection/214/fullDisodium_Cocoamphodiacetate_2C_Surfactant_1_Gallon_21430_img1131935237.png\" height=\"600\" style=\"width: 199px; height: 262px\" /></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">           <strong>IV Amphoteric Surfactant ( แอมโฟเทอริค  เซอร์แฟกแท้นท์)</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03a7\"><span style=\"color: #fb03ac\">     สารกลุ่มนี้มีทั้งประจุบวกและลบอยู่ในโมเลกุลเดียวกัน เมื่อละลายน้ำจะแสดงประจุใดขึ้นอยู่กับสภาพ แวดล้อม โดยถ้าสภาพแวดล้อมเป็นกรดก็จะแสดงประจุบวก ถ้าสภาพแวดล้อมเป็นด่างก็จะแสดงประจุลบ   คุณสมบัติหลักของสารกลุ่มนี้คือ สามารถทนน้ำกระด้าง  อ่อนละมุนต่อผิว  สามารถเข้ากับ  SLES  , SLS ได้ดี เมื่อใช้ร่วมกันจะทำให้สามารถทำให้ข้นได้ง่ายขึ้น  มีคุณสมบัติการเกิดป้องกันไฟฟ้าสถิต และให้ความนุ่มได้   ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ได้แก่  สารกลุ่ม Betaine  เช่น  Mirataine BET C 30 , Dehyton K   นิยมใช้ร่วมกับ SLES -2EO ในผลิตภัณฑ์แชมพู<br />\n นอกจา ก นี้ยังมีกลุ่ม  amphoacetate   เช่น  Miranol LC 32  สารกลุ่มนี้ใช้ได้ดีกับผลิตภัณฑ์จำพวกสบู่ ครีมอาบน้ำ โดยช่วยให้ฟองสบู่ที่ได้นุ่ม และละเอียดขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ยังให้ความอ่อนนุ่มแก่ผิว โดยช่วยให้ผิวไม่แห้งตึงหลังอาบน้ำหรือล้างหน้า</span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03a7\"><span style=\"color: #fb03ac\">         กลับมาสู่ คำถาม ที่ว่า สบู่เหลวมีคุณสมบัติต่างจากสบู่ก้อนอย่างไร  คำตอบก็คือ อยุ่ที่ส่วนผสมของสบู่ประเภทนั้นๆ ครับ ซึ่งจะส่งผลต่อราคา ด้วย</span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03a7\"><span style=\"color: #fb03ac\">         ซึ่งถ้าหากเทียบกันแล้ว จะเห็นว่า สบู่เหลวจะมีราคาแพงกว่า ดังนั้นส่วนผสมของพวก SLES มากกว่า บางยี่ห้อ อาจผสม Amphoteric Surfactant / Cationic surfactant ซึ่งจะทำให้รู้สึกลื่นๆเหมือนจะชำระล้างไม่ออก (แต่จิงๆล้างออกหมดแล้ว) และสิ่งที่ต่างกันอย่างเห้นได้ชัด คือสารพวกเติมแต่งกลิ่น ที่ให้ความหอมต่างๆครับ</span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\">          เวลาไปเดินตามซุปเปอร์มาร์เก็ต ลองสังเกตส่วนผสม ที่ฉลากดูนะครับ  สารซักล้างต่างๆจะมีองค์ประกอบที่คล้ายๆกัน แตกต่างกันเพียงสัดส่วน และสารเติมแต่ง</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"390\" src=\"http://www.whenifallinlove.net/diary/images_line/line17/reply-00000028355.gif\" height=\"57\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\"><span style=\"color: #fb03a7; background-color: #ffff99\"><strong><u>แหล่งอ้างอิง</u></strong><br />\n</span><span style=\"color: #ff99cc\">Surfactant(เว็บ) <br />\n</span><a href=\"http://www.chemplustrading.com/\"><span style=\"color: #ff99cc\">www.chemplustrading.com</span></a><br />\n<a href=\"http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=433dacad47364fce\"><span style=\"color: #ff99cc\">http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=433dacad47364fce</span></a></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #fb03ac\"><span style=\"color: #fb03a7\"><a href=\"/node/42315\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\"><strong>หน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff6600\"><strong>    </strong></span><a href=\"/node/48683\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\"><strong>ก่อนหน้า</strong></span></a><span style=\"color: #ff6600\"><strong>    </strong></span><a href=\"/node/48685\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\"><strong>ถัดไป</strong></span></a><br />\n</span></span>\n</p>\n', created = 1716097914, expire = 1716184314, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2739973999a60ba42e7df8ff51c96776' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สารที่ใช้ในการทำสบู่

           เมื่อ ไม่นานมานี้มีข่าวลือทางอินเตอร์เน็ทว่า การใช้สารจำพวก SLES , SLS จะมีอันตราย ทำให้เกิดมะเร็งหรืออันตรายอื่นๆนั้น ทางสมาคมผู้ผลิตเครื่องสำอาง ( CTFA ) ได้ออกมาชี้แจงว่า ข่าวดังกล่าวไม่มีมูลความจริงแต่อย่างไร  SLES และ SLS  สามารถใช้ ในการผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางได้ ทั้งนี้ปริมาณที่ใช้ต้องไม่สูงจนเกินไป จนเกิดการระคายเคือง ต่อผิวหนังได้ 
 

           II   Cationic Surfactant ( แคทไอออนนิค  เซอร์แฟกแท้นท์)

     สาร ในกลุ่มนี้เมื่อละลายน้ำแล้วส่วนหัวจะมีประจุบวก   นิยมใช้กันมากในอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยใช้เคลือบผ้า เพื่อให้ความลื่น และป้องกันไฟฟ้าสถิต สารจำพวกนี้ไม่มีความสามารถในการทำความสะอาด และไม่มีฟอง แต่สามารถเกาะเส้นผม และพื้นผิวได้ดี ให้ความลื่นจึงนิยมนำมาใช้ในครีมนวดผม หรือปรับผ้านุ่ม  สารตัวอย่างในกลุ่มนี้ที่ใช้ในครีมนวดผม ได้แก่   Dyhyquat AC , Rinse compound 

  

           III  Nonionic Surfactant ( นอนไอออนนิค  เซอร์แฟกแท้นท์)

     สาร ชนิดนี้เมื่อละลายน้ำแล้วจะไม่แตกตัวจึงไม่มีประจุ  คุณสมบัติของสารกลุ่มนี้จะแตกต่างกันไป ตั้งแต่ละลายน้ำได้ จนไม่ละลายน้ำ  สารที่ไม่ละลายน้ำมักใช้เป็นตัวดับฟอง และ emulsifier ส่วนสารที่ละลายน้ำมักใช้เป็นสารทำความสะอาด   แต่เนื่องจากมีฟองน้อยจึงมักใช้คู่กับ LAS   หรือ Anionic Surfactant   อื่นๆ   ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ใช้สารนี้ ได้ แก่  ผงซักฟอก  สารขจัดคราบฝังแน่น  ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ได้แก่   Nonylphenol  -9 ( NP -9 ) .

  

           IV Amphoteric Surfactant ( แอมโฟเทอริค  เซอร์แฟกแท้นท์)

     สารกลุ่มนี้มีทั้งประจุบวกและลบอยู่ในโมเลกุลเดียวกัน เมื่อละลายน้ำจะแสดงประจุใดขึ้นอยู่กับสภาพ แวดล้อม โดยถ้าสภาพแวดล้อมเป็นกรดก็จะแสดงประจุบวก ถ้าสภาพแวดล้อมเป็นด่างก็จะแสดงประจุลบ   คุณสมบัติหลักของสารกลุ่มนี้คือ สามารถทนน้ำกระด้าง  อ่อนละมุนต่อผิว  สามารถเข้ากับ  SLES  , SLS ได้ดี เมื่อใช้ร่วมกันจะทำให้สามารถทำให้ข้นได้ง่ายขึ้น  มีคุณสมบัติการเกิดป้องกันไฟฟ้าสถิต และให้ความนุ่มได้   ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ได้แก่  สารกลุ่ม Betaine  เช่น  Mirataine BET C 30 , Dehyton K   นิยมใช้ร่วมกับ SLES -2EO ในผลิตภัณฑ์แชมพู
 นอกจา ก นี้ยังมีกลุ่ม  amphoacetate   เช่น  Miranol LC 32  สารกลุ่มนี้ใช้ได้ดีกับผลิตภัณฑ์จำพวกสบู่ ครีมอาบน้ำ โดยช่วยให้ฟองสบู่ที่ได้นุ่ม และละเอียดขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ยังให้ความอ่อนนุ่มแก่ผิว โดยช่วยให้ผิวไม่แห้งตึงหลังอาบน้ำหรือล้างหน้า

         กลับมาสู่ คำถาม ที่ว่า สบู่เหลวมีคุณสมบัติต่างจากสบู่ก้อนอย่างไร  คำตอบก็คือ อยุ่ที่ส่วนผสมของสบู่ประเภทนั้นๆ ครับ ซึ่งจะส่งผลต่อราคา ด้วย

         ซึ่งถ้าหากเทียบกันแล้ว จะเห็นว่า สบู่เหลวจะมีราคาแพงกว่า ดังนั้นส่วนผสมของพวก SLES มากกว่า บางยี่ห้อ อาจผสม Amphoteric Surfactant / Cationic surfactant ซึ่งจะทำให้รู้สึกลื่นๆเหมือนจะชำระล้างไม่ออก (แต่จิงๆล้างออกหมดแล้ว) และสิ่งที่ต่างกันอย่างเห้นได้ชัด คือสารพวกเติมแต่งกลิ่น ที่ให้ความหอมต่างๆครับ

          เวลาไปเดินตามซุปเปอร์มาร์เก็ต ลองสังเกตส่วนผสม ที่ฉลากดูนะครับ  สารซักล้างต่างๆจะมีองค์ประกอบที่คล้ายๆกัน แตกต่างกันเพียงสัดส่วน และสารเติมแต่ง

แหล่งอ้างอิง
Surfactant(เว็บ)
www.chemplustrading.com
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=433dacad47364fce

หน้าหลัก    ก่อนหน้า    ถัดไป

สร้างโดย: 
น.ส.เมวิการ์ เกตุนอก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 257 คน กำลังออนไลน์