• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5b0244d645385fc1c03f0f7a8026ca8f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"background-color: #00ff00\"><b><u><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">อารยธรรมกรีก</span></span></u></b> </span>\n</p>\n<p><span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><strong><span>                  </span>สภาพภูมิศาสตร์กับการสร้างอารยธรรม</strong></span></span>\n</p>\n<p><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">      อารยธรรมกรีกกำเนิดในประเทศกรีซ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ปลายสุดของทวีปยุโรป เป็นตำแหน่งที่มาบรรจบกันของทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ทำให้กรีกโบราณได้รับอิทธิพลจากอียิปต์และเอเชีย กรีกมีพื้นที่รายน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและหมู่เกาะในทะเลอีเจียน ประชาชนอาศัยอยู่ตามหมู่บ้านในบริเวณที่ราบเล็ก ๆ ในหุบเขาที่ห้อมล้อมด้วยภูเขาสูง เป็นอุปสรรคในการติดต่อระหว่างชุมชน สภาพภูมิศาสตร์เช่นนี้แบ่งแยกชุมชนต่าง ๆ ออกจากกัน แต่ละแห่งปกครองเป็นอิสระต่อกัน มีความผูกพันเฉพาะท้องที่ของตน และพัฒนาวิถีชีวิตของตนเอง คนในแต่ละท้องที่ถือเป็นกลุ่งเดียวกัน แต่บางกลุ่มก็ไม่ยุ่งกัน บางครั้งก็นำไปสู่การต่อสู้เพื่อแย่งชิงผลประโยชน์ในการดำรงชีวิต</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภุเขา มีป่าหนาแน่น มีที่ราบน้อยและพื้นดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ทำให้กรีกไม่สามารถพึ่งพาเกษตรกรรมในการดำรงชีวิตได้อย่างเต็มที่ ชาวกรีกส่วนใหญ่จะหันไปพึ่งทะเล จากลักษณะภูมิประเทศคล้ายแหลมยื่นลงไปในทะเล ทำให้กรีกมีชายฝั่งทะเลที่ยาวความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลเป็นที่กำบังคลื่นลมได้ดีกลายเป็นท่าเรือ<span>  </span>ชาวกรีกจำนวนมากที่อาศัยอยู่ตามเกาะได้ล่องเรือออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปติดต่อค้าขายกับดินแดนภายนอก </span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>     </span></span></b></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></b></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></b></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></b></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></b></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span>กรีกในยุคต่าง ๆ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>             </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span>1) อารยธรรมไมนวน ( ประมาณ 2800 – 2100 ปีก่อนคริสต์ศักราช )<span>  </span>เป็นอารยธรรมยุคแรกของกรีกอยู่ที่เกาะครีตในทะเลอีเจียน สันนิษฐานว่าเกาะครีตรับอารยธรรมหลายอย่างจากอียิปต์<span>  </span>บริเวณเกาะครีตมีซากพระราชวังขนาดใหญ่ที่คนอสซัส ห้องต่าง ๆ ตกแต่งอย่างสวยงาม มีการวาดภาพธรรมชาติและการกีฬาไว้ที่ฝาผนัง นอกจากนี้ยังพบรูปแกะสลักขนาดเล็ทำจากงาช้าง อัญมณี แผ่นดินเผาจารึกตัวอักษรและอักษรภาพ แสดงถึงความรุ่งเรืองของวัฒนธรรม การล่มสลายของเกาะครีตมีแนวคิดคือ เกิดจากการประทุของภูเขาไฟที่ทำลายเมือง และการรุกรานของพวกไมซีเนียนจกแผ่นดินใหญ่</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span>2) อารยธรรมไมซีเนียน ( ประมาณ 1600 – 1000 ) พวกไมซีเนียนเป็นนักรบผู้นำกลุ่มต่าง ๆ ปกครองอย่ในพระราชวังขนาดใหญ่ที่อยู่บนเขาล้อมรอบด้วยกำแพงหินขนาดใหญ่ซึ่งอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบนครรัฐ ในเวลาต่อมาเรื่องราวการสู้รบของพวกไมซีเนียนที่ทำลายมืองทรอย ปรากฎอยู่ในมหากาพย์อีเลียด และโอดีสซี ของมหากวีโฮเมอร์ที่มีชื่อเสียงของกรีก</span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">3) ยุคมืด ( 1100 – 750 ปีก่อนคริสต์ศักราช )<span>  </span>หลังจากการล่มสลายของพวกไมซีเนียน กรีกเข้าสยุคตกต่ำ ความเป็นอยู่ของประชากรเสื่อมลง ประชากรไม่รู้หนังสือนักประวัติศาสตร์จึงเรียกช่วงนี้ว่ายุคมืด</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>               </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">4) ยุคคลาสสิก ( 750 – 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช )</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>   </span><span lang=\"TH\">กรีกมีการปกครองแบบนครรัฐ ตั้งกระจัดกระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งฝั่งตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ชายฝั่งทางใต้ของอิตาลี ทางใต้ของฝรังเศส และอีกหลายพื้นที่ นครรัฐที่สำคัฐมีบทบาทมากในประวัตืศาสตร?รีกโบราณ คือ นครรัฐเอเธนส์และนครรัฐสปาร์ตา<span> </span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ชาวกรีกเรียกขานรัฐว่า<span>  </span>โพลิส<span>  </span>(</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Polish<span lang=\"TH\">) รวมถึงใช้เรียกสถานที่ที่เป็นศูนย์กลางกิจกรรมทางการเมือง ศาสนา และสังคมของโพลิส ซึ่งเรียกว่า อโครโพลิส<span>  </span>ส่วนใหญ่อยู่บนภูเขาที่สูงที่สุดของเมือง</span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><span>  </span></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>            </span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span><b>การปกครองแบบโพลิส</b> หมายถึง ทั้งระดับนคร<span>  </span>เมือง และหมู่บ้าน ในระดับนครรัฐ แต่ละแห่งจะเป็นอิสระต่อกันและมีรูปแบบการปกครองที่หลากหลาย ประชากรในแต่ละโพลิสมีหลากหลาย มากน้อยแตกต่างกัน มีความจงรักภักดีและผูกพันเฉพาะรัฐของตน บางครั้งร่วมมือกันทำสงความกับศัตรูจากภายนอก เมื่อสงครามสงบก็แยกกันอยู่ตามเดิม<span>  </span>หลังจากการทำสงครามกับเปอร์เซีย นครรัฐกรีกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ นครรัฐเอเธนส์กับนครรัฐสปาร์ตา และนครรัฐอื่น ๆ ความมั่นคงของเอเธนส์กับที่ดินที่ขาดแคลนของสปาร์ตา ทำให้สปาร์ตาทำสงครามกับเอเธนส์ เรียกว่า สงครามเพโลพอนนีเชียน<span>  </span>ส่งผลให้กรีกอ่อนและเปิดโอกาสให้นครรัฐมาซิโดเนียของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชขยายอำนาจเข้ามายังกรีกได้โดยง่าย ยุคนี้เรียกว่า ยุคเฮเลนิสติก<span>  </span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>    </span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span></o:p></span> <span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></o:p></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">มรดกทางอารยธรรมกรีก</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">- ความเชื่อทางศาสนา ชาวกรีกนับถือเทพเจ้าหลายองค์และส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ เช่น เทพเจ้าแห่งทะเล ดวงอาทิตย์ เทพเจ้าที่ได้รับการยกย่องสูงสุดคือ เทพเจ้าซีอุส ชาวกรีกมีความคิดว่าเทพเจ้ามีความเป็นมนุษย์ มีอารมณ์ต่าง ๆ เหมือนกับมนุษย์ แต่มีฤทธิ์เหนือกว่า จึงปั้นรูปปั้นเทพเจ้าให้สวยงาม มีความเป็นหนุ่มสาว <span>  </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สถาปัตยกรรมและประติมากรรม</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">-สถาปัตยกรรมของชาวกรีก คือ วิหารที่สร้างเพื่อบูชาเทพเจ้า วิหารสำคัญ คือ วิหารพาร์เธเนอที่เอเธนส์ สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่เทพีอะธีนาผู้ปกป้องเอเธนส์ เป็นอาคารหินอ่อนขนาดใหญ่ มีเสาหินเรียงรายจำนวนมาก</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">-ด้านประติกรรม ชาวกรีกนิยมปั้นและแกะสลักรูปปั้นเทพเจ้า เทพธิดาเหมือนมนุษย์ทั้งแสดงสีหน้า ท่าทาง มีกล้ามเนื้อ และแกะสลักหินอ่อนเป็นเสื้อผ้าที่ดูพลิ้วไหวเป็นธรรมชาติ</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span></span><b>อักษรศาสตร์</b><span>  </span>มหากาพย์อีเลียดและโอดัสซีของโฮเมอร์ ได้รับการยกย่องในด้านการประพันธ์ ทั้งภาษาที่ใช้ การวางโครงเรื่อง การดำเนินเรื่อง ถือเป็นแม่แบบวรรณกรรมของกรีกรวมทั้งยังใช้ศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์กรีกยุคต้น รวทั้งยังมีนิทานอีสปที่ให้ข้อคิดและเป็นนิทานอมตะ</span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></o:p></span><span><o:p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เฮโรโดตุส นักประวัติศาสตร์กรีกที่มีชื่อเสียงก็ไดรับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก<span>      </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></o:p></span><span><o:p></o:p></span><span><o:p></o:p></span><span><o:p></o:p></span><span><o:p></o:p></span><span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><strong>ความเจริญทางปรัชญาและแนวคิด</strong></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>นักปราชญาสำคัญ เช่น โสคราตีส เน้นให้มีการตั้งคำถามและหาคำตอบในสิ่งต่าง ๆ เน้นความเป็นเหตุเป็นผล เพลโต นันเรื่องการค้นหาความจริง เรื่องการวิเคราะห์และจำแนกสิ่งต่าง ๆ บนพื้นฐานของการวิจัยและสำรวจ <span>      </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"background-color: #ff00ff\">ที่มา</span> หนังสือประวัติศาสตร์สากล ม.4 - ม.6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พ.ศ.2551 </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #000000; background-color: #ff9900\">จัดทำโดย น.ส.นัตยา   มณีกัญญ์ ม.6/1 เลขที่ 8 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์</span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>                                         </span><span>                              </span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715772675, expire = 1715859075, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5b0244d645385fc1c03f0f7a8026ca8f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e6a3b097b5123ffedef0fd2364cdc020' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เข้ามาตรวจให้ด้วยนะค่ะ</p>\n', created = 1715772675, expire = 1715859075, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e6a3b097b5123ffedef0fd2364cdc020' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมกรีก

อารยธรรมกรีก

                  สภาพภูมิศาสตร์กับการสร้างอารยธรรม

      อารยธรรมกรีกกำเนิดในประเทศกรีซ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ปลายสุดของทวีปยุโรป เป็นตำแหน่งที่มาบรรจบกันของทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ทำให้กรีกโบราณได้รับอิทธิพลจากอียิปต์และเอเชีย กรีกมีพื้นที่รายน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและหมู่เกาะในทะเลอีเจียน ประชาชนอาศัยอยู่ตามหมู่บ้านในบริเวณที่ราบเล็ก ๆ ในหุบเขาที่ห้อมล้อมด้วยภูเขาสูง เป็นอุปสรรคในการติดต่อระหว่างชุมชน สภาพภูมิศาสตร์เช่นนี้แบ่งแยกชุมชนต่าง ๆ ออกจากกัน แต่ละแห่งปกครองเป็นอิสระต่อกัน มีความผูกพันเฉพาะท้องที่ของตน และพัฒนาวิถีชีวิตของตนเอง คนในแต่ละท้องที่ถือเป็นกลุ่งเดียวกัน แต่บางกลุ่มก็ไม่ยุ่งกัน บางครั้งก็นำไปสู่การต่อสู้เพื่อแย่งชิงผลประโยชน์ในการดำรงชีวิต สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภุเขา มีป่าหนาแน่น มีที่ราบน้อยและพื้นดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ทำให้กรีกไม่สามารถพึ่งพาเกษตรกรรมในการดำรงชีวิตได้อย่างเต็มที่ ชาวกรีกส่วนใหญ่จะหันไปพึ่งทะเล จากลักษณะภูมิประเทศคล้ายแหลมยื่นลงไปในทะเล ทำให้กรีกมีชายฝั่งทะเลที่ยาวความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลเป็นที่กำบังคลื่นลมได้ดีกลายเป็นท่าเรือ  ชาวกรีกจำนวนมากที่อาศัยอยู่ตามเกาะได้ล่องเรือออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปติดต่อค้าขายกับดินแดนภายนอก      กรีกในยุคต่าง ๆ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้                1) อารยธรรมไมนวน ( ประมาณ 2800 – 2100 ปีก่อนคริสต์ศักราช )  เป็นอารยธรรมยุคแรกของกรีกอยู่ที่เกาะครีตในทะเลอีเจียน สันนิษฐานว่าเกาะครีตรับอารยธรรมหลายอย่างจากอียิปต์  บริเวณเกาะครีตมีซากพระราชวังขนาดใหญ่ที่คนอสซัส ห้องต่าง ๆ ตกแต่งอย่างสวยงาม มีการวาดภาพธรรมชาติและการกีฬาไว้ที่ฝาผนัง นอกจากนี้ยังพบรูปแกะสลักขนาดเล็ทำจากงาช้าง อัญมณี แผ่นดินเผาจารึกตัวอักษรและอักษรภาพ แสดงถึงความรุ่งเรืองของวัฒนธรรม การล่มสลายของเกาะครีตมีแนวคิดคือ เกิดจากการประทุของภูเขาไฟที่ทำลายเมือง และการรุกรานของพวกไมซีเนียนจกแผ่นดินใหญ่                2) อารยธรรมไมซีเนียน ( ประมาณ 1600 – 1000 ) พวกไมซีเนียนเป็นนักรบผู้นำกลุ่มต่าง ๆ ปกครองอย่ในพระราชวังขนาดใหญ่ที่อยู่บนเขาล้อมรอบด้วยกำแพงหินขนาดใหญ่ซึ่งอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบนครรัฐ ในเวลาต่อมาเรื่องราวการสู้รบของพวกไมซีเนียนที่ทำลายมืองทรอย ปรากฎอยู่ในมหากาพย์อีเลียด และโอดีสซี ของมหากวีโฮเมอร์ที่มีชื่อเสียงของกรีก3) ยุคมืด ( 1100 – 750 ปีก่อนคริสต์ศักราช )  หลังจากการล่มสลายของพวกไมซีเนียน กรีกเข้าสยุคตกต่ำ ความเป็นอยู่ของประชากรเสื่อมลง ประชากรไม่รู้หนังสือนักประวัติศาสตร์จึงเรียกช่วงนี้ว่ายุคมืด                4) ยุคคลาสสิก ( 750 – 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช )   กรีกมีการปกครองแบบนครรัฐ ตั้งกระจัดกระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งฝั่งตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ชายฝั่งทางใต้ของอิตาลี ทางใต้ของฝรังเศส และอีกหลายพื้นที่ นครรัฐที่สำคัฐมีบทบาทมากในประวัตืศาสตร?รีกโบราณ คือ นครรัฐเอเธนส์และนครรัฐสปาร์ตา ชาวกรีกเรียกขานรัฐว่า  โพลิส  (Polish) รวมถึงใช้เรียกสถานที่ที่เป็นศูนย์กลางกิจกรรมทางการเมือง ศาสนา และสังคมของโพลิส ซึ่งเรียกว่า อโครโพลิส  ส่วนใหญ่อยู่บนภูเขาที่สูงที่สุดของเมือง                  การปกครองแบบโพลิส หมายถึง ทั้งระดับนคร  เมือง และหมู่บ้าน ในระดับนครรัฐ แต่ละแห่งจะเป็นอิสระต่อกันและมีรูปแบบการปกครองที่หลากหลาย ประชากรในแต่ละโพลิสมีหลากหลาย มากน้อยแตกต่างกัน มีความจงรักภักดีและผูกพันเฉพาะรัฐของตน บางครั้งร่วมมือกันทำสงความกับศัตรูจากภายนอก เมื่อสงครามสงบก็แยกกันอยู่ตามเดิม  หลังจากการทำสงครามกับเปอร์เซีย นครรัฐกรีกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ นครรัฐเอเธนส์กับนครรัฐสปาร์ตา และนครรัฐอื่น ๆ ความมั่นคงของเอเธนส์กับที่ดินที่ขาดแคลนของสปาร์ตา ทำให้สปาร์ตาทำสงครามกับเอเธนส์ เรียกว่า สงครามเพโลพอนนีเชียน  ส่งผลให้กรีกอ่อนและเปิดโอกาสให้นครรัฐมาซิโดเนียของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชขยายอำนาจเข้ามายังกรีกได้โดยง่าย ยุคนี้เรียกว่า ยุคเฮเลนิสติก       มรดกทางอารยธรรมกรีก- ความเชื่อทางศาสนา ชาวกรีกนับถือเทพเจ้าหลายองค์และส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ เช่น เทพเจ้าแห่งทะเล ดวงอาทิตย์ เทพเจ้าที่ได้รับการยกย่องสูงสุดคือ เทพเจ้าซีอุส ชาวกรีกมีความคิดว่าเทพเจ้ามีความเป็นมนุษย์ มีอารมณ์ต่าง ๆ เหมือนกับมนุษย์ แต่มีฤทธิ์เหนือกว่า จึงปั้นรูปปั้นเทพเจ้าให้สวยงาม มีความเป็นหนุ่มสาว    สถาปัตยกรรมและประติมากรรม-สถาปัตยกรรมของชาวกรีก คือ วิหารที่สร้างเพื่อบูชาเทพเจ้า วิหารสำคัญ คือ วิหารพาร์เธเนอที่เอเธนส์ สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่เทพีอะธีนาผู้ปกป้องเอเธนส์ เป็นอาคารหินอ่อนขนาดใหญ่ มีเสาหินเรียงรายจำนวนมาก-ด้านประติกรรม ชาวกรีกนิยมปั้นและแกะสลักรูปปั้นเทพเจ้า เทพธิดาเหมือนมนุษย์ทั้งแสดงสีหน้า ท่าทาง มีกล้ามเนื้อ และแกะสลักหินอ่อนเป็นเสื้อผ้าที่ดูพลิ้วไหวเป็นธรรมชาติ                      อักษรศาสตร์  มหากาพย์อีเลียดและโอดัสซีของโฮเมอร์ ได้รับการยกย่องในด้านการประพันธ์ ทั้งภาษาที่ใช้ การวางโครงเรื่อง การดำเนินเรื่อง ถือเป็นแม่แบบวรรณกรรมของกรีกรวมทั้งยังใช้ศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์กรีกยุคต้น รวทั้งยังมีนิทานอีสปที่ให้ข้อคิดและเป็นนิทานอมตะเฮโรโดตุส นักประวัติศาสตร์กรีกที่มีชื่อเสียงก็ไดรับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก     

ความเจริญทางปรัชญาและแนวคิด  นักปราชญาสำคัญ เช่น โสคราตีส เน้นให้มีการตั้งคำถามและหาคำตอบในสิ่งต่าง ๆ เน้นความเป็นเหตุเป็นผล เพลโต นันเรื่องการค้นหาความจริง เรื่องการวิเคราะห์และจำแนกสิ่งต่าง ๆ บนพื้นฐานของการวิจัยและสำรวจ       

ที่มา หนังสือประวัติศาสตร์สากล ม.4 - ม.6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พ.ศ.2551 

จัดทำโดย น.ส.นัตยา   มณีกัญญ์ ม.6/1 เลขที่ 8 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์

                                                                       

เข้ามาตรวจให้ด้วยนะค่ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 271 คน กำลังออนไลน์