• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('6.อุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์', 'node/51038', '', '3.134.79.121', 0, '643a999ab9a447810451d44c2b09c18a', 188, 1716902334) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:29b14eb77bdd4ed97e882d710dc2f72d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #ff5050\" lang=\"TH\">ระบบประสาทโซมาติก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #ff5050\" lang=\"TH\">     </span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff7c80\" lang=\"TH\">ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมอง และกระแสประสาทจะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทำงานโดยผ่านไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าเบา ๆ</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; color: #ff7c80\" lang=\"TH\"></span></b></span><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\" lang=\"TH\">ระบบประสาทโซมาติก เป็นระบบที่ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อลายหรือระบบประสาทในอำนาจจิตใจ (</span><span style=\"color: #ff7c80\">voluntary nervous system)<span lang=\"TH\"> ได้แก่ เส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ซึ่งมีใยประสาทนำคำสั่งไปควบคุมกล้ามเนื้อลาย </span></span></span></b><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\" lang=\"TH\">การตอบสนองสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าจะเกิดขึ้นเองโดยอัตโนวัติ เรียกว่า รีเฟล็กซ์ (</span><span style=\"color: #ff7c80\">reflex)<span lang=\"TH\"> กิริยาอาการที่แสดงออกมาเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นในระยะเวลาสั้น ๆ เรียกว่า รีเฟล็กซ์แอกชัน (</span>reflex action)<span lang=\"TH\"> เป็นการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด โดยไม่มีการเตรียมตัวไว้ล่วงหน้า เป็นการสั่งการของไขสันหลัง โดยไม่ต้องอาศัยคำสั่งจากสมอง</span></span></span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"596\" src=\"/files/u18977/untitled.jpg\" height=\"450\" /></span></span></span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: black\"><a href=\"http://porpax.bio.miami.edu/~cmallery/150/neuro/c7.48.4.kneejerk.jpg\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">http://porpax.bio.miami.edu/~cmallery/</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">150/</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">neuro/c</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">7.48.4.</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">kneejerk.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6699\" lang=\"TH\">ในเวลาที่เราเดินเท้าเปล่า แล้วบังเอิญไปเหยียบเศษแก้ว เราจะชักเท้าออกทันที โดยที่สมองยังไม่ทันได้คิดหรือสั่งการ สมองเองยังไม่รู้ด้วยซ้ำไปว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนอีกเสี้ยวเวลาต่อมาจึงจะรู้สึกเจ็บและรับรู้ว่าสิ่งที่เหยียบนั้นคืออะไร การทำงานของระบบประสาทที่เป็นวงจรนี้เรียกว่า รีเฟล็กซ์อาร์ก (</span><span style=\"color: #ff6699\">reflex arc)<span lang=\"TH\"> ประกอบด้วยหน่วยย่อยใหญ่ 5 หน่วย</span><o:p></o:p></span></span></b><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff6699\" lang=\"TH\">บางครั้งรีเฟล็กซ์อาร์ก อาจไม่จำเป็นต้องมีเซลล์ประสาทประสานงานก็ได้ เช่น การกระตุกเมื่อเคาะที่หัวเข่า จะประกอบด้วยเซลล์ประสาทเพียงสองชนิด</span></b></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><img border=\"0\" width=\"263\" src=\"/files/u18977/somatic.gif\" height=\"400\" /></span></span></span></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff7c80\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 8pt; color: #999999\"><a href=\"http://www.promma.ac.th/special_science/supplementary/hormone(9)/chapter1/chapter1.1_3.htm\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">http://www.promma.ac.th/special_science/supplementary/hormone(</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">9)/</span><span style=\"font-family: Times New Roman\">chapter</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1/</span><span style=\"font-family: Times New Roman\">chapter</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.1</span><span style=\"font-family: Times New Roman\">_</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.</span><span style=\"font-family: Times New Roman\">htm</span></a></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41698\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u18977/HOME.gif\" height=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1716902364, expire = 1716988764, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:29b14eb77bdd4ed97e882d710dc2f72d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบประสาทโซมาติก

ระบบประสาทโซมาติก

     ระบบประสาทโซมาติก ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อยึดกระดูก โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมอง และกระแสประสาทจะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยึดกระดูก บางครั้งอาจทำงานโดยผ่านไขสันหลังเท่านั้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าเบา ๆระบบประสาทโซมาติก เป็นระบบที่ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อลายหรือระบบประสาทในอำนาจจิตใจ (voluntary nervous system) ได้แก่ เส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลัง ซึ่งมีใยประสาทนำคำสั่งไปควบคุมกล้ามเนื้อลาย การตอบสนองสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เช่น การกระตุกขาเมื่อเคาะหัวเข่าจะเกิดขึ้นเองโดยอัตโนวัติ เรียกว่า รีเฟล็กซ์ (reflex) กิริยาอาการที่แสดงออกมาเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นในระยะเวลาสั้น ๆ เรียกว่า รีเฟล็กซ์แอกชัน (reflex action) เป็นการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด โดยไม่มีการเตรียมตัวไว้ล่วงหน้า เป็นการสั่งการของไขสันหลัง โดยไม่ต้องอาศัยคำสั่งจากสมอง

http://porpax.bio.miami.edu/~cmallery/150/neuro/c7.48.4.kneejerk.jpg

 

ในเวลาที่เราเดินเท้าเปล่า แล้วบังเอิญไปเหยียบเศษแก้ว เราจะชักเท้าออกทันที โดยที่สมองยังไม่ทันได้คิดหรือสั่งการ สมองเองยังไม่รู้ด้วยซ้ำไปว่ามีอะไรเกิดขึ้น จนอีกเสี้ยวเวลาต่อมาจึงจะรู้สึกเจ็บและรับรู้ว่าสิ่งที่เหยียบนั้นคืออะไร การทำงานของระบบประสาทที่เป็นวงจรนี้เรียกว่า รีเฟล็กซ์อาร์ก (reflex arc) ประกอบด้วยหน่วยย่อยใหญ่ 5 หน่วยบางครั้งรีเฟล็กซ์อาร์ก อาจไม่จำเป็นต้องมีเซลล์ประสาทประสานงานก็ได้ เช่น การกระตุกเมื่อเคาะที่หัวเข่า จะประกอบด้วยเซลล์ประสาทเพียงสองชนิด

http://www.promma.ac.th/special_science/supplementary/hormone(9)/chapter1/chapter1.1_3.htm

สร้างโดย: 
น.ส.เพ็ญนภา ติษยางกูร และ อาจารย์วิริยะ โภคาพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 168 คน กำลังออนไลน์