• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:432bcf69e0d0e716dea06415a25e959c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> </span></b><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">  </span></b></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p06_bhb.jpg\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">         <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #000000\">เยอรมนีรุกครั้งใหญ่ ฤดูใบไม้ร่วง 1918</span></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"right\">\n<b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                                         <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/Clip_9.jpg\" style=\"width: 332px; height: 237px\" height=\"230\" width=\"324\" /></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span> ทหารเยอรมันใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง</span></a></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/7/7d/Bundesarchiv_Bild_102-00178%2C_Frankreich%2C_Eroberte_franz%C3%B6sische_Stellung.jpg</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span><span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">             นายพลเยอรมัน อิริค ลูเดนดอร์ฟ ได้ร่างแผน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการมิคาเอล</span> ขึ้นเพื่อวางแผนการรุกในแนวรบด้านตะวันตก ระหว่างปี 1918 โดยแผนการดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อตัดกองทัพอังกฤษและกองทัพฝรั่งเศสออกจากกันด้วยการหลอกหลวงและการรุกหลายครั้ง โดยคณะผู้นำเยอรมนีหวังว่าการโจมตีอย่างเด็ดขาดก่อนที่สหรัฐอเมริกาจะเข้าสู่สงครามอย่างเต็มรูปแบบ ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 1918 โดยโจมตีกองทัพอังกฤษที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อเมนส์</span> และสามารถรุกเข้าไปได้ถึง 60 กิโลเมตร ซึ่งนับว่าเป็นการรุกที่ประสบความสำเร็จที่สุดในสงครามครั้งนี้<o:p></o:p></span><o:p> </o:p></span><span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ส่วนแนวสนามเพลาะของอังกฤษและฝรั่งเศสถูกเจาะผ่านด้วย<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธวิธีการแทรกซึม</span> ก่อนหน้านั้น ได้มีการโจมตีโดยการระดมยิงปืนใหญ่อย่างหนักและการรุกโดยใช้กำลังพลจำนวนมหาศาล อย่างไรก็ตาม ตลอดการรุกฤดูใบไม้ร่วง กองทัพเยอรมันใช้ปืนใหญ่เพียงเล็กน้อยและจะแทรกซึมผ่านกองทหารข้าศึกที่อ่อนแอแทน การโจมตีของกองทัพเยอรมันได้ผ่านพื้นที่บัญชาการและพื้นที่ส่งกำลังบำรุง โดยไม่พบกับการต้านทานอย่างหนาแน่น หลังจากที่การต้านทานถูกปิดล้อมไว้แล้ว ทหารเยอรมันที่แข็งแกร่งกว่าก็จะเข้าบดขยี้ในภายหลัง โดยความสำเร็จของฝ่ายเยอรมนีนั้นเกิดขึ้นด้วยความประหลาดใจของฝ่ายศัตรู</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">            ทหารเยอรมันรุกเข้าใกล้กรุง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปารีส</span> โดยอยู่ห่างออกไปเพียง 120 กิโลเมตรเท่านั้น โดยเยอรมนีได้ยิง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปืนใหญ่รถไฟ</span>กว่า 183 นัดเข้าใส่กรุงปารีส ทำให้ชาวปารีสจำนวนมากต้องหลบภัย การรุกในช่วงแรกประสบความสำเร็จอย่างงดงาม จนกระทั่งจักรพรรดิไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 ทรงประกาศให้วันที่ 24 มีนาคมเป็นวันหยุดราชการ ชาวเยอรมันจำนวนมากคิดว่าชัยชนะของสงครามอยู่ใกล้แค่เอื้อมแล้ว หลังจากการต่อสู้อย่างหนัก ปรากฏว่าการรุกของเยอรมนีหยุดชะงักไป การขาดแคลนรถถังหรือปืนใหญ่เคลื่อนที่ทำให้ฝ่ายเยอรมันไม่สามารถรวมกำลังกันรุกต่อไปได้ การรุกที่หยุดลงอย่างกระทันหันยังเป็นผลมาจากกองกำลังจักรวรรดิออสเตรเลียนจำนวนสี่กองพล ซึ่งสามารถยับยั้งการบุกของกองทัพเยอรมันได้ และจากนั้น กองพลออสเตรเลียที่หนึ่งถูกส่งออกไปป้องกันการบุกครั้งที่สองของเยอรมนีทางเหนืออีกครั้งหนึ่ง<o:p></o:p></span><o:p> </o:p></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ส่วนทางด้านกองพลอเมริกัน ซึ่งนายพลเพอร์ชิงพยายามจะให้มีอำนาจบัญชาการเป็นของตนเอง ถูกมอบหมายให้อยู่ภายใต้อำนาจบัญชาการของจักรวรรดิอังกฤษและฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28มีนาคม จากการก่อตั้งสภาสูงสุดกองกำลังฝ่ายพันธมิตรเมื่อวันที่  5พฤศจิกายน นายพลฟอคได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพพันธมิตรสูงสุด แต่นายพลคนอื่น ๆ ก็พยายามสงวนการควบคุมทางยุทธวิธีเหนือกองทัพของตนเองเอาไว้ นายพลฟอคจึงแสดงบทบาทร่วม แทนที่จะบัญชาการกองทัพอังกฤษ ฝรั่งเศสหรืออเมริกันโดยตรง ซึ่งแต่ละกองทัพก็ยังคงปฏิบัติการเป็นเอกเทศต่อกัน</span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/Clip_7.jpg\" height=\"221\" width=\"372\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">           ทหารปืนใหญ่ชาวอังกฤษระหว่าง<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ยุทธการแห่งอเมนส์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการแห่งอเมนส์</span></a></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/<span lang=\"TH\">4/45/60</span>pdrsBattleOfAmiens<span lang=\"TH\">1918.</span>jpg</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">หลังจากปฏิบัติการมิคาเอล เยอรมนีได้เริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการจอร์เจตต์</span> โดยพุ่งเป้าไปยังเมืองท่าที่ติดกับ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ช่องแคบอังกฤษ</span>ทางตอนเหนือ แต่กองทัพพันธมิตรสามารถยับยั้งกองทัพเยอรมันได้ โดยที่เยอรมนีได้ดินแดนเพิ่มมาเพียงเล็กน้อย ส่วนกองทัพเยอรมันทางใต้ได้เริ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการบลือเชอร์และยอร์ค</span>โดยพุ่งเป้าไปยังกรุงปารีส ส่วนปฏิบัติการมาร์นเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ในความพยายามที่จะล้อมเมือง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แรมส์</span> และจุดเริ่มต้นของ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง</span> แต่ฝ่ายพันธมิตรก็สามารถเอาชนะได้อีกครั้ง โดยเป็นการบุกที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกของสงคราม</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span>  </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\"><o:p><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/Clip_8.jpg\" style=\"width: 326px; height: 243px\" height=\"235\" width=\"312\" /></o:p></span>\n</div>\n<p><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ทหารช่างอเมริกันขณะเดินทางกลับจากแนวหน้า ระหว่าง<span style=\"color: #0d0d0d\">ยุทธการแห่งเซนต์-มีอีล</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/f/f5/Battle_of_St._Mihiel_01.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/f/f<span lang=\"TH\">5/</span>Battle_of_St._Mihiel_<span lang=\"TH\">01.</span>jpg</a></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เมื่อถึงวันที่ 20กรกฎาคม กองทัพเยอรมันถูกผลักดันออกไปจนถึงจุดเริ่มต้นอีกครั้งหนึ่ง โดยที่ฝ่ายเยอรมันไม่สามารถบรรลุจุดประสงค์ทางการทหารได้เลย เมื่อสงครามทางตะวันตกมาถึงขั้นนี้แล้ว เยอรมนีไม่อาจจะเป็นฝ่ายบุกก่อนได้อีกต่อไป ความสูญเสียของกองทัพเยอรมันระหว่างเดือนมีนาคมและเดือนเมษายนอยู่ที่ประมาณ 270</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\">,<span lang=\"TH\">000นาย รวมไปถึงทหารวายุ ซึ่งได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ผลที่เกิดขึ้นทำให้เกิดการรณรงค์ต่อต้านสงครามอย่างหนักในเยอรมนี และกำลังใจของทหารในกองทัพถดถอย ผลผลิตทางอุตสาหกรรมทรุดลงอย่างหนัก โดยคิดเป็น 53% ของผลผลิตทางอุตสาหกรรมในปี 1913</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-ideograph; text-align: justify; line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p>                   </o:p></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p>        </o:p></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p>           <a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>   <a href=\"/node/47192\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span> \n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p>\n', created = 1726849771, expire = 1726936171, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:432bcf69e0d0e716dea06415a25e959c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.~. เยอรมนีรุกครั้งใหญ่ ฤดูใบไม้ร่วง 1918 .~.

  

           เยอรมนีรุกครั้งใหญ่ ฤดูใบไม้ร่วง 1918

 

                                        

 ทหารเยอรมันในยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่สองhttp://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/7/7d/Bundesarchiv_Bild_102-00178%2C_Frankreich%2C_Eroberte_franz%C3%B6sische_Stellung.jpg

             นายพลเยอรมัน อิริค ลูเดนดอร์ฟ ได้ร่างแผนปฏิบัติการมิคาเอล ขึ้นเพื่อวางแผนการรุกในแนวรบด้านตะวันตก ระหว่างปี 1918 โดยแผนการดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อตัดกองทัพอังกฤษและกองทัพฝรั่งเศสออกจากกันด้วยการหลอกหลวงและการรุกหลายครั้ง โดยคณะผู้นำเยอรมนีหวังว่าการโจมตีอย่างเด็ดขาดก่อนที่สหรัฐอเมริกาจะเข้าสู่สงครามอย่างเต็มรูปแบบ ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 1918 โดยโจมตีกองทัพอังกฤษที่อเมนส์ และสามารถรุกเข้าไปได้ถึง 60 กิโลเมตร ซึ่งนับว่าเป็นการรุกที่ประสบความสำเร็จที่สุดในสงครามครั้งนี้

ส่วนแนวสนามเพลาะของอังกฤษและฝรั่งเศสถูกเจาะผ่านด้วยยุทธวิธีการแทรกซึม ก่อนหน้านั้น ได้มีการโจมตีโดยการระดมยิงปืนใหญ่อย่างหนักและการรุกโดยใช้กำลังพลจำนวนมหาศาล อย่างไรก็ตาม ตลอดการรุกฤดูใบไม้ร่วง กองทัพเยอรมันใช้ปืนใหญ่เพียงเล็กน้อยและจะแทรกซึมผ่านกองทหารข้าศึกที่อ่อนแอแทน การโจมตีของกองทัพเยอรมันได้ผ่านพื้นที่บัญชาการและพื้นที่ส่งกำลังบำรุง โดยไม่พบกับการต้านทานอย่างหนาแน่น หลังจากที่การต้านทานถูกปิดล้อมไว้แล้ว ทหารเยอรมันที่แข็งแกร่งกว่าก็จะเข้าบดขยี้ในภายหลัง โดยความสำเร็จของฝ่ายเยอรมนีนั้นเกิดขึ้นด้วยความประหลาดใจของฝ่ายศัตรู

            ทหารเยอรมันรุกเข้าใกล้กรุงปารีส โดยอยู่ห่างออกไปเพียง 120 กิโลเมตรเท่านั้น โดยเยอรมนีได้ยิงปืนใหญ่รถไฟกว่า 183 นัดเข้าใส่กรุงปารีส ทำให้ชาวปารีสจำนวนมากต้องหลบภัย การรุกในช่วงแรกประสบความสำเร็จอย่างงดงาม จนกระทั่งจักรพรรดิไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 ทรงประกาศให้วันที่ 24 มีนาคมเป็นวันหยุดราชการ ชาวเยอรมันจำนวนมากคิดว่าชัยชนะของสงครามอยู่ใกล้แค่เอื้อมแล้ว หลังจากการต่อสู้อย่างหนัก ปรากฏว่าการรุกของเยอรมนีหยุดชะงักไป การขาดแคลนรถถังหรือปืนใหญ่เคลื่อนที่ทำให้ฝ่ายเยอรมันไม่สามารถรวมกำลังกันรุกต่อไปได้ การรุกที่หยุดลงอย่างกระทันหันยังเป็นผลมาจากกองกำลังจักรวรรดิออสเตรเลียนจำนวนสี่กองพล ซึ่งสามารถยับยั้งการบุกของกองทัพเยอรมันได้ และจากนั้น กองพลออสเตรเลียที่หนึ่งถูกส่งออกไปป้องกันการบุกครั้งที่สองของเยอรมนีทางเหนืออีกครั้งหนึ่ง

ส่วนทางด้านกองพลอเมริกัน ซึ่งนายพลเพอร์ชิงพยายามจะให้มีอำนาจบัญชาการเป็นของตนเอง ถูกมอบหมายให้อยู่ภายใต้อำนาจบัญชาการของจักรวรรดิอังกฤษและฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28มีนาคม จากการก่อตั้งสภาสูงสุดกองกำลังฝ่ายพันธมิตรเมื่อวันที่  5พฤศจิกายน นายพลฟอคได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพพันธมิตรสูงสุด แต่นายพลคนอื่น ๆ ก็พยายามสงวนการควบคุมทางยุทธวิธีเหนือกองทัพของตนเองเอาไว้ นายพลฟอคจึงแสดงบทบาทร่วม แทนที่จะบัญชาการกองทัพอังกฤษ ฝรั่งเศสหรืออเมริกันโดยตรง ซึ่งแต่ละกองทัพก็ยังคงปฏิบัติการเป็นเอกเทศต่อกัน

 

           ทหารปืนใหญ่ชาวอังกฤษระหว่างยุทธการแห่งอเมนส์http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/4/45/60pdrsBattleOfAmiens1918.jpg

 

หลังจากปฏิบัติการมิคาเอล เยอรมนีได้เริ่มปฏิบัติการจอร์เจตต์ โดยพุ่งเป้าไปยังเมืองท่าที่ติดกับช่องแคบอังกฤษทางตอนเหนือ แต่กองทัพพันธมิตรสามารถยับยั้งกองทัพเยอรมันได้ โดยที่เยอรมนีได้ดินแดนเพิ่มมาเพียงเล็กน้อย ส่วนกองทัพเยอรมันทางใต้ได้เริ่มปฏิบัติการบลือเชอร์และยอร์คโดยพุ่งเป้าไปยังกรุงปารีส ส่วนปฏิบัติการมาร์นเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ในความพยายามที่จะล้อมเมืองแรมส์ และจุดเริ่มต้นของยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง แต่ฝ่ายพันธมิตรก็สามารถเอาชนะได้อีกครั้ง โดยเป็นการบุกที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกของสงคราม

 

ทหารช่างอเมริกันขณะเดินทางกลับจากแนวหน้า ระหว่างยุทธการแห่งเซนต์-มีอีล

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/f/f5/Battle_of_St._Mihiel_01.jpg

เมื่อถึงวันที่ 20กรกฎาคม กองทัพเยอรมันถูกผลักดันออกไปจนถึงจุดเริ่มต้นอีกครั้งหนึ่ง โดยที่ฝ่ายเยอรมันไม่สามารถบรรลุจุดประสงค์ทางการทหารได้เลย เมื่อสงครามทางตะวันตกมาถึงขั้นนี้แล้ว เยอรมนีไม่อาจจะเป็นฝ่ายบุกก่อนได้อีกต่อไป ความสูญเสียของกองทัพเยอรมันระหว่างเดือนมีนาคมและเดือนเมษายนอยู่ที่ประมาณ 270,000นาย รวมไปถึงทหารวายุ ซึ่งได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ผลที่เกิดขึ้นทำให้เกิดการรณรงค์ต่อต้านสงครามอย่างหนักในเยอรมนี และกำลังใจของทหารในกองทัพถดถอย ผลผลิตทางอุตสาหกรรมทรุดลงอย่างหนัก โดยคิดเป็น 53% ของผลผลิตทางอุตสาหกรรมในปี 1913

                   
        
                

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 334 คน กำลังออนไลน์