• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('Cycadophyta', 'node/50929', '', '18.226.87.83', 0, 'c1914c122ccf4f9a21b17d0dec502675', 164, 1716217623) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:83c6707ab2c39de47ec010c6a54c1750' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<strong><u>พืชดอก</u></strong>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>พืชดอก (Angiosperm)</strong> เนื่องจากในพวกพืชมีเมล็ดด้วยกัน เฉพาะพืชกลุ่มนี้เท่านั้นที่สร้างดอก พืชดอกหมายถึงพืชที่เมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม พืชกลุ่มนี้มีรังไข่ (ovary) มีผล (fruit) และมีการปฏิสนธิคู่ (double fertilization) พืชดอกมีวิวัฒนาการมาจากพืชเมล็ดเปลือยดึกดำบรรพ์ เมื่อประมาณ 136 ล้านปีที่แล้ว หรือในยุคที่ไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์ พืชในชั้นนี้มีมากที่สุด ในโลกนี้มีประมาณ 275,000 ชนิด (species) ในประเทศไทยประมาณว่ามีมากกว่า 12,000 ชนิด และมีหลากหลายเช่นกัน ตั้งแต่ต้นเล็กไม่ถึงหนึ่งมิลลิเมตร เช่น duckweed ที่อยู่ตามผิวน้ำ จนถึงต้นสูงใหญ่ร่วมหนึ่งร้อยเมตร เช่นยูคาลิปตัส หรือยืนต้นเช่นไม้ที่พบเห็นบนดินทั่วไป เป็นเถาเกาะเกี่ยวตามต้นไม้ จนถึงพืชอากาศที่อาศัยอยู่บนต้นไม้อื่น หรือสังเคราะห์แสงได้เอง (photosynthetic plant) ดังเช่นพืชที่เราเห็นทั่วๆไป จนถึงพืชเบียนหรือกาฝาก (parasitic plant) และพืชกินซาก (saprophytic plant) พืชที่เราพบเห็นและศึกษาโดยทั่วไปทางการเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มนี้<br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>1. Phylum Anthophyta</strong> ได้แก่ พืชมีดอก แยกได้ออกเป็นพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว<br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- มีราก ลำต้น ใบที่แท้จริง <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- มีระบบลำเลียงเจริญดี มีท่อลำเลียงน้ำ ( Xylem ) และท่อลำเลียงอาหาร (Phloem) <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้ม <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- การปฏิสนธิ เป็นแบบซ้อน Double Fertilization การปฏิสนธิ 2 ครั้ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/develpk.jpg\" alt=\"http://1.bp.blogspot.com/_pYUolWX0mEk/Sp86DSBOJdI/AAAAAAAAAEw/rhZj_GEiibQ/s400/develpk.jpg\" style=\"width: 477px; height: 465px\" height=\"400\" width=\"333\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/41856?page=0%2C4\" title=\"กลัยอาณาจักร 5\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 51px; height: 44px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>  <a href=\"/node/45626?page=0%2C1\" title=\"อาณาจักรพืช\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 39px; height: 33px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>  <a href=\"/node/47178\" title=\"พืชมีท่อลำเลียง\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 25px; height: 24px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />พืชดอกแบ่งออกเป็นสองชั้นย่อย (Subclass) โดยแบ่งตามจำนวนใบเลี้ยงในเมล็ดได้ ดังนี้\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>1) ใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledonae)</strong> เรียกพืชในชั้นย่อยนี้ว่า <strong>พืชใบเลี้ยงเดี่ยว</strong> หรือมักเรียกย่อๆว่า <strong>monocot</strong> พืชกลุ่มนี้มีใบเลี้ยงในเมล็ดเพียงหนึ่งใบ ในโลกนี้มีพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประมาณ 50,000 ชนิด ตัวอย่างวงศ์ (Family) พืชที่ถูกจัดให้อยู่ในชั้นย่อยใบเลี้ยงเดี่ยวนี้ เช่น Poaceae (ชื่อเดิมคือ Gramineae หรือวงศ์หญ้า) Palmae หรือ Arecaceae (วงศ์ปาล์ม) Liliaceae (วงศ์ลิลี่) Orchidaceae (วงศ์กล้วยไม้) และ Cyperaceae (วงศ์กก) โปรดสังเกตชื่อวงศ์มักลงท้ายด้วย ceae\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>2) ใบเลี้ยงคู่ (Dicotyledonae)</strong> เรียกพืชในชั้นย่อยนี้ว่า <strong>พืชใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon หรือมักเรียกย่อๆว่า dicot)</strong> พืชในกลุ่มนี้มีใบเลี้ยงในเมล็ดสองใบ ในโลกนี้มีพืชใบเลี้ยงคู่มากมายประมาณ 225,000 ชนิด ตัวอย่างวงศ์พืชที่ถูกจัดให้อยู่ในชั้นย่อยใบเลี้ยงคู่นี้ เช่น Fabaceae (ชื่อเดิมคือ Leguminosae หรือวงศ์ถั่ว) Brassicaceae (ชื่อเดิมคือ Cruciferae หรือวงศ์กะหล่ำ) Solanaceae (วงศ์มะเขือเทศ) และ Asteraceae (ชื่อเดิมคือ Compositae หรือวงศ์ทานตะวัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/a51.gif\" alt=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/239/30239/images/a51.gif\" style=\"width: 239px; height: 261px\" height=\"334\" width=\"250\" />  <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/chaba.jpg\" alt=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/103/chaba.jpg\" style=\"width: 322px; height: 263px\" height=\"329\" width=\"449\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span></span><span></span><span></span></p>\n<table border=\"0\" style=\"background-color: #cbe9f7; width: 99.03%; height: 156px; border: #050404 0px solid\" align=\"center\" width=\"9903%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td><u><strong>พืชใบเลี้ยงคู่</strong></u></td>\n<td><u><strong>พืชใบเลี้ยงเดี่ยว</strong></u></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p>\n  1. มีใบเลี้ยง 2 ใบ<br />\n  2. เส้นใบเป็นแบบร่างแห<br />\n  3. ใบเลี้ยงชูเหนือพื้นดิน<br />\n  4. ระบบรากแก้ว<br />\n  5. ระบบท่อลำเลียงเป็นวงรอบข้อ<br />\n  6. กลีบเลี้ยง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 4-5 <br />\n  7. รากจะมีท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร 4 แฉก<br />\n  8. มี Cambium และมีการเจริญทางด้านข้าง\n </p>\n</td>\n<td>\n<p>\n  1. มีใบเลี้ยง 1 ใบ<br />\n  2. เส้นใบเรียงแบบขนาน<br />\n  3. ใบเลี้ยงไม่ชูเหนือพื้นดิน<br />\n  4. ระบบรากฝอย<br />\n  5. ระบบท่อลำเลียงกระจัดกระจาย<br />\n  6. กลีบเลี้ยง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 3<br />\n  7. รากจะมีท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหารมากกว่า 4 แฉก<br />\n  8. ไม่มี Cambium และไม่มีการเจริญทางด้านข้าง\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มา : นางสาว ธนรัตน์ ทีฆพงศ์, โรงเรียนพนัสพิทยาคาร, วันที่ 19 กันยายน 2545<br />\n         <a href=\"http://www.agri.ubu.ac.th/~kitti/part1/plant.html\">http://www.agri.ubu.ac.th/~kitti/part1/plant.html</a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/41856?page=0%2C4\" title=\"กลัยอาณาจักร 5\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 51px; height: 44px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>  <a href=\"/node/45626?page=0%2C1\" title=\"อาณาจักรพืช\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 39px; height: 33px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>  <a href=\"/node/47178\" title=\"พืชมีท่อลำเลียง\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 25px; height: 24px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716217643, expire = 1716304043, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:83c6707ab2c39de47ec010c6a54c1750' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5215b972d9c4025dcd5c6bc1a934ef10' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<strong><u>พืชดอก</u></strong>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>พืชดอก (Angiosperm)</strong> เนื่องจากในพวกพืชมีเมล็ดด้วยกัน เฉพาะพืชกลุ่มนี้เท่านั้นที่สร้างดอก พืชดอกหมายถึงพืชที่เมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม พืชกลุ่มนี้มีรังไข่ (ovary) มีผล (fruit) และมีการปฏิสนธิคู่ (double fertilization) พืชดอกมีวิวัฒนาการมาจากพืชเมล็ดเปลือยดึกดำบรรพ์ เมื่อประมาณ 136 ล้านปีที่แล้ว หรือในยุคที่ไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์ พืชในชั้นนี้มีมากที่สุด ในโลกนี้มีประมาณ 275,000 ชนิด (species) ในประเทศไทยประมาณว่ามีมากกว่า 12,000 ชนิด และมีหลากหลายเช่นกัน ตั้งแต่ต้นเล็กไม่ถึงหนึ่งมิลลิเมตร เช่น duckweed ที่อยู่ตามผิวน้ำ จนถึงต้นสูงใหญ่ร่วมหนึ่งร้อยเมตร เช่นยูคาลิปตัส หรือยืนต้นเช่นไม้ที่พบเห็นบนดินทั่วไป เป็นเถาเกาะเกี่ยวตามต้นไม้ จนถึงพืชอากาศที่อาศัยอยู่บนต้นไม้อื่น หรือสังเคราะห์แสงได้เอง (photosynthetic plant) ดังเช่นพืชที่เราเห็นทั่วๆไป จนถึงพืชเบียนหรือกาฝาก (parasitic plant) และพืชกินซาก (saprophytic plant) พืชที่เราพบเห็นและศึกษาโดยทั่วไปทางการเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มนี้<br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>1. Phylum Anthophyta</strong> ได้แก่ พืชมีดอก แยกได้ออกเป็นพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว<br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- มีราก ลำต้น ใบที่แท้จริง <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- มีระบบลำเลียงเจริญดี มีท่อลำเลียงน้ำ ( Xylem ) และท่อลำเลียงอาหาร (Phloem) <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้ม <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 47px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 26px; height: 15px\" height=\"15\" width=\"75\" />- การปฏิสนธิ เป็นแบบซ้อน Double Fertilization การปฏิสนธิ 2 ครั้ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/develpk.jpg\" alt=\"http://1.bp.blogspot.com/_pYUolWX0mEk/Sp86DSBOJdI/AAAAAAAAAEw/rhZj_GEiibQ/s400/develpk.jpg\" style=\"width: 477px; height: 465px\" height=\"400\" width=\"333\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/41856?page=0%2C4\" title=\"กลัยอาณาจักร 5\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 51px; height: 44px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>  <a href=\"/node/45626?page=0%2C1\" title=\"อาณาจักรพืช\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 39px; height: 33px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>  <a href=\"/node/47178\" title=\"พืชมีท่อลำเลียง\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 25px; height: 24px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716217643, expire = 1716304043, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5215b972d9c4025dcd5c6bc1a934ef10' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พืชที่มีเมล็ด (Seed) พืชดอก

 


พืชดอก

พืชดอก (Angiosperm) เนื่องจากในพวกพืชมีเมล็ดด้วยกัน เฉพาะพืชกลุ่มนี้เท่านั้นที่สร้างดอก พืชดอกหมายถึงพืชที่เมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม พืชกลุ่มนี้มีรังไข่ (ovary) มีผล (fruit) และมีการปฏิสนธิคู่ (double fertilization) พืชดอกมีวิวัฒนาการมาจากพืชเมล็ดเปลือยดึกดำบรรพ์ เมื่อประมาณ 136 ล้านปีที่แล้ว หรือในยุคที่ไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์ พืชในชั้นนี้มีมากที่สุด ในโลกนี้มีประมาณ 275,000 ชนิด (species) ในประเทศไทยประมาณว่ามีมากกว่า 12,000 ชนิด และมีหลากหลายเช่นกัน ตั้งแต่ต้นเล็กไม่ถึงหนึ่งมิลลิเมตร เช่น duckweed ที่อยู่ตามผิวน้ำ จนถึงต้นสูงใหญ่ร่วมหนึ่งร้อยเมตร เช่นยูคาลิปตัส หรือยืนต้นเช่นไม้ที่พบเห็นบนดินทั่วไป เป็นเถาเกาะเกี่ยวตามต้นไม้ จนถึงพืชอากาศที่อาศัยอยู่บนต้นไม้อื่น หรือสังเคราะห์แสงได้เอง (photosynthetic plant) ดังเช่นพืชที่เราเห็นทั่วๆไป จนถึงพืชเบียนหรือกาฝาก (parasitic plant) และพืชกินซาก (saprophytic plant) พืชที่เราพบเห็นและศึกษาโดยทั่วไปทางการเกษตรจัดอยู่ในกลุ่มนี้
 1. Phylum Anthophyta ได้แก่ พืชมีดอก แยกได้ออกเป็นพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 - มีราก ลำต้น ใบที่แท้จริง 
 - มีระบบลำเลียงเจริญดี มีท่อลำเลียงน้ำ ( Xylem ) และท่อลำเลียงอาหาร (Phloem) 
 - มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้ม 
 - การปฏิสนธิ เป็นแบบซ้อน Double Fertilization การปฏิสนธิ 2 ครั้ง

 

http://1.bp.blogspot.com/_pYUolWX0mEk/Sp86DSBOJdI/AAAAAAAAAEw/rhZj_GEiibQ/s400/develpk.jpg

 


     


 

สร้างโดย: 
นางสาว ชิดชนก รักษ์ถาววรวงศ์ ; อาจารย์ที่ปรึกษา : นาย สมบูรณ์ กมลาสนางกูร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 315 คน กำลังออนไลน์