• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.119.138.37', 0, '420327ae6b52298df6b5c096225f2748', 120, 1716791648) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:58e0971c362842334c15ee9e2e9500a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                 <span style=\"color: #800000\">รองเง็งเป็นศิลปะเต้นรำพื้นเมืองของไทยมุสลิม มีความสวยงามทั้งลีลาการเคลื่อนไหวของ เท้ามือ ลำตัว และการแต่งกายคู่ชายหญิง กล่าวกันว่าการเต้นรองเง็ง สมัยโบราณเป็นที่นิยมกันในบ้านขุนนางหรือเจ้าเมืองในสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่นที่บ้านรายายะหริ่ง หรือพระยาพิพิธเสนามาตย์ เจ้าเมืองยะหริ่งสมัยก่อนการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2439 - 2449) มีหญิงซึ่งเป็นข้าทาสบริวารฝึกรองเง็ง เพื่อไว้ต้อนรับแขกเหรื่อในงานรื่นเริงหรืองานพิธีต่าง ๆ เป็นประจำ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">เนื่องจากวัฒนธรรมมุสลิมไม่นิยมให้สตรีเข้าสังคมกับบุรุษเพศโดยประเจิดประเจ้อ ฉะนั้นนอกจากผู้หญิงบริวารเจ้าเมืองแล้วผู้หญิงอื่น ๆ ที่เป็นผู้ดีจึงไม่มีโอกาสฝึกรองเง็ง เพียงแต่นั่งเขาเต้นกัน รองเง็งระยะแรก ๆ จึงนิยมกันเพียงวงแคบ ๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">แม้ในชวาหรือมลายูโบราณนิยมรองเง็งกันน้อยและการละเล่นประเภทนี้มิได้เน้นศิลปะมากนัก ดังบทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง &quot;ระยะทางเที่ยวชวากว่าสองเดือน&quot; </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u19924/watana_kone_008.jpg\" height=\"228\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://yalor.yru.ac.th/~jaran/data/thai_culture/rongeng.htm\">http://yalor.yru.ac.th/~jaran/data/thai_culture/rongeng.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">ลักษณะการเล่นรองเง็งซึ่งดูคล้ายศิลปะวัฒนธรรมตะวันตกนั้น มีผู้สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกส หรือชาวสเปน ได้นำมาเผยแพร่ในประเทศชวา มลายูก่อนโดย เฉพาะเมื่อถึงวันรื่นเริงปีใหม่ พวกฝรั่งเต้นรำอย่างสนุกสนาน เช่นเต้นรำลาฆูดูวอ เป็นเพลงไพเราะน่าชมน่าฟังชาวพื้นเมืองบังเกิดความสนใจและได้ฝึกซ้อมจนกระทั่ง ของศิลปะรองเง็งหรือรองเกงขึ้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\">ส่วนรองเง็งในประเทศไทยนิยมเต้นกันในบ้านขุนนางมุสลิมไทยดังกล่าวข้างต้น ต่อมาได้แพร่หลายสู่ชาวบ้านโดยอาศัยการแสดงมะโย่ง หรือ มโนราไทยมุสลิม มะโย่งแสดงเป็นเรื่องและมีการพักครั้งละ 10 - 15 นาที ระหว่างที่พักนั้นจะสลับฉากด้วยรองเง็ง เมื่อดนตรีขึ้นเพลงรองเง็งฝ่ายหญิงที่แสดงมะโย่งจะลุกขึ้นเต้นจับคู่ กันเอง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานยิ่งขึ้น จึงเชิญชายผู้ชมเข้าร่วมวงด้วย ในที่สุดรองเง็งเป็นการเต้นรำที่ถูกอกถูกใจของชาวบ้าน แต่ไม่ถึงขั้นมีการจูบดังบท พระราชนิพนธ์ดังกล่าว ภายหลังมีการจัดตั้งคณะรองเง็งรับจ้างเล่นในงานต่าง ๆ ทำนองรำวง ซึ่งแพร่หลายอยู่จนปัจจุบัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">ความจริงการเต้นรองเง็งของไทยมุสลิม เป็นการเต้นที่สุภาพ ถือไม่มีการถูกเนื้อต้องตัวกัน ผู้ชายสมัครเต้นมีสิทธิ์โค้งผู้หญิงได้ทุกคน การเต้นแต่ละเพลงมีลีลา ไม่เหมือนกัน เพลงหนึ่งก็เต้นไปอย่างหนึ่ง ฉะนั้นผู้เต้นรองเง็งต้องฟังเพลงได้ด้วยว่า เพลงนั้นจังหวะเต้นอย่างไร ฝ่ายชาวบ้านบางคนแม้จะไม่สัดทัดก็สามารถออกไป เต้นได้ เพราะไม่ต้องพาคู่เต้นแบบลีลาศ ต่างคนต่างเต้นไปตามจังหวะ ไม่ต้องกลัวเหยียบเท้ากัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716791658, expire = 1716878058, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:58e0971c362842334c15ee9e2e9500a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รองเง็ง

                 รองเง็งเป็นศิลปะเต้นรำพื้นเมืองของไทยมุสลิม มีความสวยงามทั้งลีลาการเคลื่อนไหวของ เท้ามือ ลำตัว และการแต่งกายคู่ชายหญิง กล่าวกันว่าการเต้นรองเง็ง สมัยโบราณเป็นที่นิยมกันในบ้านขุนนางหรือเจ้าเมืองในสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่นที่บ้านรายายะหริ่ง หรือพระยาพิพิธเสนามาตย์ เจ้าเมืองยะหริ่งสมัยก่อนการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2439 - 2449) มีหญิงซึ่งเป็นข้าทาสบริวารฝึกรองเง็ง เพื่อไว้ต้อนรับแขกเหรื่อในงานรื่นเริงหรืองานพิธีต่าง ๆ เป็นประจำ

เนื่องจากวัฒนธรรมมุสลิมไม่นิยมให้สตรีเข้าสังคมกับบุรุษเพศโดยประเจิดประเจ้อ ฉะนั้นนอกจากผู้หญิงบริวารเจ้าเมืองแล้วผู้หญิงอื่น ๆ ที่เป็นผู้ดีจึงไม่มีโอกาสฝึกรองเง็ง เพียงแต่นั่งเขาเต้นกัน รองเง็งระยะแรก ๆ จึงนิยมกันเพียงวงแคบ ๆ

แม้ในชวาหรือมลายูโบราณนิยมรองเง็งกันน้อยและการละเล่นประเภทนี้มิได้เน้นศิลปะมากนัก ดังบทพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง "ระยะทางเที่ยวชวากว่าสองเดือน"

ที่มา : http://yalor.yru.ac.th/~jaran/data/thai_culture/rongeng.htm

 

ลักษณะการเล่นรองเง็งซึ่งดูคล้ายศิลปะวัฒนธรรมตะวันตกนั้น มีผู้สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกส หรือชาวสเปน ได้นำมาเผยแพร่ในประเทศชวา มลายูก่อนโดย เฉพาะเมื่อถึงวันรื่นเริงปีใหม่ พวกฝรั่งเต้นรำอย่างสนุกสนาน เช่นเต้นรำลาฆูดูวอ เป็นเพลงไพเราะน่าชมน่าฟังชาวพื้นเมืองบังเกิดความสนใจและได้ฝึกซ้อมจนกระทั่ง ของศิลปะรองเง็งหรือรองเกงขึ้น


ส่วนรองเง็งในประเทศไทยนิยมเต้นกันในบ้านขุนนางมุสลิมไทยดังกล่าวข้างต้น ต่อมาได้แพร่หลายสู่ชาวบ้านโดยอาศัยการแสดงมะโย่ง หรือ มโนราไทยมุสลิม มะโย่งแสดงเป็นเรื่องและมีการพักครั้งละ 10 - 15 นาที ระหว่างที่พักนั้นจะสลับฉากด้วยรองเง็ง เมื่อดนตรีขึ้นเพลงรองเง็งฝ่ายหญิงที่แสดงมะโย่งจะลุกขึ้นเต้นจับคู่ กันเอง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานยิ่งขึ้น จึงเชิญชายผู้ชมเข้าร่วมวงด้วย ในที่สุดรองเง็งเป็นการเต้นรำที่ถูกอกถูกใจของชาวบ้าน แต่ไม่ถึงขั้นมีการจูบดังบท พระราชนิพนธ์ดังกล่าว ภายหลังมีการจัดตั้งคณะรองเง็งรับจ้างเล่นในงานต่าง ๆ ทำนองรำวง ซึ่งแพร่หลายอยู่จนปัจจุบัน

ความจริงการเต้นรองเง็งของไทยมุสลิม เป็นการเต้นที่สุภาพ ถือไม่มีการถูกเนื้อต้องตัวกัน ผู้ชายสมัครเต้นมีสิทธิ์โค้งผู้หญิงได้ทุกคน การเต้นแต่ละเพลงมีลีลา ไม่เหมือนกัน เพลงหนึ่งก็เต้นไปอย่างหนึ่ง ฉะนั้นผู้เต้นรองเง็งต้องฟังเพลงได้ด้วยว่า เพลงนั้นจังหวะเต้นอย่างไร ฝ่ายชาวบ้านบางคนแม้จะไม่สัดทัดก็สามารถออกไป เต้นได้ เพราะไม่ต้องพาคู่เต้นแบบลีลาศ ต่างคนต่างเต้นไปตามจังหวะ ไม่ต้องกลัวเหยียบเท้ากัน

 

 

สร้างโดย: 
kook

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 224 คน กำลังออนไลน์