• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bd8d1b032db5dfcf8693fdbc5c1d62a7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #f13f0d\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"371\" src=\"/files/u19955/1252001353.jpg\" height=\"530\" style=\"width: 235px; height: 251px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ที่มาของภาพ:</strong><a href=\"http://www.kru-note.com/web/webboard_upload/1252001353.jpg\"><strong>http://www.kru-note.com/web/webboard_upload/1252001353.jpg</strong></a><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #f13f0d\"><strong>สมัยกลางใหม่ (ศตวรรษที่ 16 – กลางศตวรรษที่ 19)</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800080\">              เป็นยุคที่โชกุนและไดเมียว มีอำนาจปกครองสิทธิขาดเหนือที่ดินและประชาชน อันเรียกว่า การปกครองแบบ บะคุฮัง (Bakuhan) ซึ่งระบบนี้พึ่งพาเศรษฐกิจอันมาจากผลผลิตทางการเกษตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #f13f0d\"><strong>สมัยอะชุฉิ – โมะโมะยะมะ</strong></span><br />\n              เป็น ยุคที่โชกุนชื่อ โอะดะ โนะบุนะงะ (Oda Nobunaga) และโทะโยะโทะมิ ฮิเดะโยะชิ (Toyotomi Hideyoshi) ได้ปราบปรามไดเมียวหัวเมืองต่าง ๆ และรวมศูนย์กลางอำนาจไว้ได้แต่เพียงผู้เดียว ความสงบภายในประเทศประกอบกับการติดต่อกับต่างประเทศที่มากขึ้น ทำให้เกิดวัฒนธรรมอันหรูหรา อย่างเช่น วัฒนธรรม<br />\nโมะโมะยะมะ (Momoyama) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><strong><span style=\"color: #f13f0d\">สมัยเอะโดะ</span></strong><br />\n             โทะ คุงะวะ อิเอะยะสุ (Tokugawa Ieyasu) ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอะโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน ค.ศ. 1603 และหลังจากนั้นอีก 260 ปี การปกครองทั้งหลายก็ตกอยู่ในอำนาจของตระกูลโทะคุงะวะ รัฐบาลโทะคุงะวะได้ลิดรอนอำนาจจากจักรพรรดิ เชื้อพระวงศ์ และพระสงฆ์จนหมดสิ้น และปกครองเกษตรกรไปทีละเล็กละน้อย เมื่อเกษตรกรอันเป็นฐานอำนาจของรัฐบาลโทะคุงะวะยากจนลงจนเดือดร้อน การปกครองของตระกูลโทะคุงะวะก็เริ่มสั่นคลอนลงตั้งแต่เข้าศตวรรษที่ 19<br />\n             ยุค นี้เป็นยุคที่วัฒนธรรมของราษฎรสามัญเจริญจนถึงที่สุด ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 จนถึงต้นศตวรรษที่ 18 เป็นยุคของวัฒนธรรมเก็นโระขุ (Genroku) ซึ่งเป็นของนักรบผสมกับราษฎรสามัญ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใหญ่ ๆ อย่างเกียวโต โอซาก้า เอกลักษณ์คือละครหุ่น ละครคะบุขิและหัตถกรรมต่าง ๆ มีศิลปินกำเนิดจากราษฎรสามัญมากมาย เช่น นักเขียน อย่าง อิฮะระ ไชคะขุ (Ihara Saikaku) นักกลอนไฮขุ อย่าง มะทสึโอะ บะโช (Matsuo Bashou) นักแต่งบทละครหุ่น ละครคะบิขุ อย่าง ชิคะมะทสึ มงซะเอะมง (Chikamatsu Monzaemon) จนเมื่อศตวรรษที่ 19 ศูนย์กลางของวัฒนธรรมได้ย้ายไปอยู่เอะโดะ เป็นยุคของวัฒนธรรม คะเซ (Kasei) ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของชนชาวเมือง อันได้แก่ นวนิยาย ละครคะบุขิ ภาพอุคิโยะ บุงจิง-งะ เป็นต้น<br />\n            การศึกษาและวิชาการ ก็เจริญรุ่งเรือง ชนชั้นนักรบเล่าเรียนปรัชญาของขงจื๊อและหลักคำสอน จูจื่อ (Chu H si) ซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานที่ค้ำจุนการปกครองของรัฐบาลโทะคุงะวะ การศึกษาเกี่ยวกับญี่ปุ่นและดัตช์ (ฮอลันดา) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา มีการเปิดโรงเรียนตามหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อลูกหลานของชนชั้นนักรบ ราษฎรสามัญเองก็นิยมส่งลูกหลานไปศึกษาวิชาต่าง ๆ ที่วัด (terakoya) </span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/48347\"><img border=\"0\" width=\"448\" src=\"/files/u19955/Back_20icon.jpg\" height=\"383\" style=\"width: 107px; height: 67px\" /></a>                                            <a href=\"/node/43094\"><img border=\"0\" width=\"143\" src=\"/files/u19955/h.jpg\" height=\"143\" style=\"width: 85px; height: 73px\" /></a>                                            <a href=\"/node/48356\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u19955/n.jpg\" height=\"131\" style=\"width: 71px; height: 66px\" /></a>\n</p>\n', created = 1726836705, expire = 1726923105, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bd8d1b032db5dfcf8693fdbc5c1d62a7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

รูปภาพของ bell

 

ที่มาของภาพ:http://www.kru-note.com/web/webboard_upload/1252001353.jpg

สมัยกลางใหม่ (ศตวรรษที่ 16 – กลางศตวรรษที่ 19)


              เป็นยุคที่โชกุนและไดเมียว มีอำนาจปกครองสิทธิขาดเหนือที่ดินและประชาชน อันเรียกว่า การปกครองแบบ บะคุฮัง (Bakuhan) ซึ่งระบบนี้พึ่งพาเศรษฐกิจอันมาจากผลผลิตทางการเกษตร

สมัยอะชุฉิ – โมะโมะยะมะ
              เป็น ยุคที่โชกุนชื่อ โอะดะ โนะบุนะงะ (Oda Nobunaga) และโทะโยะโทะมิ ฮิเดะโยะชิ (Toyotomi Hideyoshi) ได้ปราบปรามไดเมียวหัวเมืองต่าง ๆ และรวมศูนย์กลางอำนาจไว้ได้แต่เพียงผู้เดียว ความสงบภายในประเทศประกอบกับการติดต่อกับต่างประเทศที่มากขึ้น ทำให้เกิดวัฒนธรรมอันหรูหรา อย่างเช่น วัฒนธรรม
โมะโมะยะมะ (Momoyama)

สมัยเอะโดะ
             โทะ คุงะวะ อิเอะยะสุ (Tokugawa Ieyasu) ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอะโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน ค.ศ. 1603 และหลังจากนั้นอีก 260 ปี การปกครองทั้งหลายก็ตกอยู่ในอำนาจของตระกูลโทะคุงะวะ รัฐบาลโทะคุงะวะได้ลิดรอนอำนาจจากจักรพรรดิ เชื้อพระวงศ์ และพระสงฆ์จนหมดสิ้น และปกครองเกษตรกรไปทีละเล็กละน้อย เมื่อเกษตรกรอันเป็นฐานอำนาจของรัฐบาลโทะคุงะวะยากจนลงจนเดือดร้อน การปกครองของตระกูลโทะคุงะวะก็เริ่มสั่นคลอนลงตั้งแต่เข้าศตวรรษที่ 19
             ยุค นี้เป็นยุคที่วัฒนธรรมของราษฎรสามัญเจริญจนถึงที่สุด ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 จนถึงต้นศตวรรษที่ 18 เป็นยุคของวัฒนธรรมเก็นโระขุ (Genroku) ซึ่งเป็นของนักรบผสมกับราษฎรสามัญ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใหญ่ ๆ อย่างเกียวโต โอซาก้า เอกลักษณ์คือละครหุ่น ละครคะบุขิและหัตถกรรมต่าง ๆ มีศิลปินกำเนิดจากราษฎรสามัญมากมาย เช่น นักเขียน อย่าง อิฮะระ ไชคะขุ (Ihara Saikaku) นักกลอนไฮขุ อย่าง มะทสึโอะ บะโช (Matsuo Bashou) นักแต่งบทละครหุ่น ละครคะบิขุ อย่าง ชิคะมะทสึ มงซะเอะมง (Chikamatsu Monzaemon) จนเมื่อศตวรรษที่ 19 ศูนย์กลางของวัฒนธรรมได้ย้ายไปอยู่เอะโดะ เป็นยุคของวัฒนธรรม คะเซ (Kasei) ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของชนชาวเมือง อันได้แก่ นวนิยาย ละครคะบุขิ ภาพอุคิโยะ บุงจิง-งะ เป็นต้น
            การศึกษาและวิชาการ ก็เจริญรุ่งเรือง ชนชั้นนักรบเล่าเรียนปรัชญาของขงจื๊อและหลักคำสอน จูจื่อ (Chu H si) ซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานที่ค้ำจุนการปกครองของรัฐบาลโทะคุงะวะ การศึกษาเกี่ยวกับญี่ปุ่นและดัตช์ (ฮอลันดา) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา มีการเปิดโรงเรียนตามหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อลูกหลานของชนชั้นนักรบ ราษฎรสามัญเองก็นิยมส่งลูกหลานไปศึกษาวิชาต่าง ๆ ที่วัด (terakoya)

                                                                                        

สร้างโดย: 
อาจารย์วราภรณ์ สุขสายชล และ จันทรา ตระกูลเศรษฐสิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 462 คน กำลังออนไลน์