• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a1836ab290027f91e6dd8241bbf501f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: xx-large\"><sup><sub></sub></sup></span><span style=\"font-size: xx-large\"><sup><sub><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></sub></sup></span></p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: xx-large\"><strong>การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียง </strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>1. </strong><strong><span style=\"font-size: large\">ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวิตอย่างจริงจัง มีชีวิตเรียบง่าย ดังกระแสพระดำรัส ความว่า </span><span style=\"font-family: DSN DokYa,DSN DokYa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSN DokYa,DSN DokYa; font-size: large\">“</span></span><span style=\"font-size: large\">ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง</span><span style=\"font-family: DSN DokYa,DSN DokYa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSN DokYa,DSN DokYa; font-size: large\">” </span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>2. </strong><strong><span style=\"font-size: large\">ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องสุจริต </span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-size: large\">สัมมาอาชีวะ</span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">) </span></span><span style=\"font-size: large\">แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม ดังกระแสพระราชดำรัส ความว่า </span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">“</span></span><span style=\"font-size: large\">ความเจริญของคนทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพชอบเป็นหลักสำคัญ</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">” </span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>3. </strong><strong><span style=\"font-size: large\">ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรงดังอดีต </span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-size: large\">สัมมากัมมันตะ</span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">) </span></span><span style=\"font-size: large\">ดังกระแสพระราชดำรัสในเรื่องนี้ ความว่า </span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">“</span></span><span style=\"font-size: large\">ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหาได้ด้วยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">” </span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>4. </strong><strong><span style=\"font-size: large\">ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้ โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสำคัญ </span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-size: large\">สัมมาวายามะ</span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">) </span></span><span style=\"font-size: large\">ดังกระแสพระราชดำรัสตอนหนึ่งที่ให้ความหมายชัดเจนว่า </span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">“</span></span><span style=\"font-size: large\">การที่ต้องการให้ทุกคนพยายาม ที่จะหาความรู้และสร้างตนเองให้มั่นคงนี้ เพื่อตนเองเพื่อที่จะให้ตัวเองมีความเป็นอยู่ ที่ก้าวหน้าที่มีความสุข พอมีพอกินเป็นขั้นหนึ่งและขั้นต่อไป ก็คือ ให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วยตนเอง</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">” </span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>5. </strong><strong><span style=\"font-size: large\">ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว </span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-size: large\">อบายมุข </span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">6) </span></span><span style=\"font-size: large\">ให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ด้วยสังคมไทย ที่ล่มสลายลงในครั้งนี้ เพราะยังมีบุคคลจำนวนมิใช่น้อยที่ดำเนินการโดยปราศจากความละอายแผ่นดิน </span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-size: large\">หิริโอตตัปปะ</span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: large\">) </span></span><span style=\"font-size: large\">ดังกระแสพระราชดำรัส ความว่า </span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">“</span></span><span style=\"font-size: large\">พยายามไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัว ทำลายผู้อื่น พยายามลด พยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษาและเพิ่มพูนความดีที่มีอยู่นั้นให้งอกงามสมบูรณ์ขึ้น</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">” </span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<strong>4 </strong><strong><span style=\"font-size: x-large\">ป</span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\">. </span></span><span style=\"font-size: x-large\">หลักในการครองงาน </span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>โปร่งใส </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>การปฏิบัติงานด้วยความสุจริต เที่ยงตรง พร้อมรับการตรวจสอบในทุกกระบวนการ มีความเข้มแข็งและสร้างเกราะกำบังให้ตนเองเพื่อยืนหยัดต่อสู้กับการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกกรณี </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>เป็นธรรม </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>การปฏิบัติด้วย ความเสมอภาค เพื่อสร้างความอุ่นใจและเป็นที่พึ่งให้แก่ประชาชน รวมถึงการหลีกเลี่ยงและต่อต้านสิ่งไม่ดีทั้งปวง เพื่อรักษาความชอบธรรมในสังคม </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ประหยัด </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>การใช้จ่ายอย่างพอดีตัว ไม่สร้างหนี้สินเกินความจำเป็น รู้จักอดออมและแบ่งปัน ไม่ทะเยอทะยานฟุ้งเฟ้อเกินตัว มีภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจที่ดี ทั้งทรัพย์สินของทางราชการและทรัพย์สินส่วนตัว </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ประสิทธิภาพ </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>การปฏิบัติงานที่ คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยมีประโยชน์สุขของประชาชนและ การพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนเป็นหลักชัย </strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<strong>4 </strong><strong><span style=\"font-size: x-large\">พ</span><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: DSU_MonTaNa,DSU_MonTaNa; font-size: x-large\">. </span></span><span style=\"font-size: x-large\">หลักในการครองตน </span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>พึ่งตนเอง </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>การพึ่งตนเองด้วยสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ เพื่อนำพาให้ตนประสบความสำเร็จในชีวิตและคลี่คลายจากปัญหาที่ประสบอยู่ การพึ่งตนเองของข้าราชการจำเป็นต้อง มีความมั่นใจในความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ และศักยภาพของตนเองเพื่อเป็นหลักในการปฏิบัติราชการให้ประสบผลสัมฤทธิ์ตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>พอดี </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ความพอเหมาะพอควรและเป็นขั้นตอน ไม่ช้าไป ไม่เร็วไป ไม่ก้าวกระโดด ไม่ประมาท รู้จักเลือกสรร และใช้อย่างเหมาะสมระมัดระวังการปฏิบัติราชการจำเป็นต้องเข้าใจขอบเขต ของเรื่องหรือกรอบของงานให้กระจ่างและลงมือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>พอเพียง </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาเหตุผลให้รอบคอบสร้างภูมิคุ้มกันให้ตนเองอย่างมั่นคง ไม่ไขว้เขวไปกับสิ่งที่ยั่วยุ มีความทะเยอทะยานในหน้าที่การงานและการดำรงชีวิตตามโอกาสและฐานะ แสวงหาความก้าวหน้าโดยไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ไม่แก่งแย่งแข่งขัน แต่เน้นการให้และแบ่งปัน เพื่อสร้างความสุขทางใจให้มากขึ้น </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>พอใจ </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ความพอใจและภูมิใจในสถานภาพและการดำรงชีวิตของตนด้วยการใช้ชีวิตอย่างมีศกดิ์ศรีและสง่างาม </strong>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: x-large\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<strong>“</strong><span style=\"font-family: Times New Roman; font-size: x-large\">พอเพียง</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: x-large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: x-large\"><strong>” </strong></span></span><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ตามรอยพระยุคลบาท </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<strong>“</strong><span style=\"font-family: Times New Roman; font-size: large\">ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><strong>” </strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"></span></p>\n<p>\n<strong>เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญา ชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ </strong><strong><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">“</span></span><span style=\"font-size: large\">ความพอเพียง</span><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New,Cordia New; font-size: large\">” </span></span><span style=\"font-size: large\">หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียรมีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี </span></strong>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726857267, expire = 1726943667, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a1836ab290027f91e6dd8241bbf501f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การนำเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินิชีวิตของตนเอง

 

 

การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียง

1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวิตอย่างจริงจัง มีชีวิตเรียบง่าย ดังกระแสพระดำรัส ความว่า ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง

2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องสุจริต (สัมมาอาชีวะ) แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม ดังกระแสพระราชดำรัส ความว่า ความเจริญของคนทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพชอบเป็นหลักสำคัญ

3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรงดังอดีต (สัมมากัมมันตะ) ดังกระแสพระราชดำรัสในเรื่องนี้ ความว่า ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหาได้ด้วยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทำไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น

4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้ โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสำคัญ (สัมมาวายามะ) ดังกระแสพระราชดำรัสตอนหนึ่งที่ให้ความหมายชัดเจนว่า การที่ต้องการให้ทุกคนพยายาม ที่จะหาความรู้และสร้างตนเองให้มั่นคงนี้ เพื่อตนเองเพื่อที่จะให้ตัวเองมีความเป็นอยู่ ที่ก้าวหน้าที่มีความสุข พอมีพอกินเป็นขั้นหนึ่งและขั้นต่อไป ก็คือ ให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วยตนเอง

5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว (อบายมุข 6) ให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ด้วยสังคมไทย ที่ล่มสลายลงในครั้งนี้ เพราะยังมีบุคคลจำนวนมิใช่น้อยที่ดำเนินการโดยปราศจากความละอายแผ่นดิน (หิริโอตตัปปะ) ดังกระแสพระราชดำรัส ความว่า พยายามไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัว ทำลายผู้อื่น พยายามลด พยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษาและเพิ่มพูนความดีที่มีอยู่นั้นให้งอกงามสมบูรณ์ขึ้น

4 . หลักในการครองงาน

โปร่งใส

การปฏิบัติงานด้วยความสุจริต เที่ยงตรง พร้อมรับการตรวจสอบในทุกกระบวนการ มีความเข้มแข็งและสร้างเกราะกำบังให้ตนเองเพื่อยืนหยัดต่อสู้กับการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกกรณี

เป็นธรรม

การปฏิบัติด้วย ความเสมอภาค เพื่อสร้างความอุ่นใจและเป็นที่พึ่งให้แก่ประชาชน รวมถึงการหลีกเลี่ยงและต่อต้านสิ่งไม่ดีทั้งปวง เพื่อรักษาความชอบธรรมในสังคม

ประหยัด

การใช้จ่ายอย่างพอดีตัว ไม่สร้างหนี้สินเกินความจำเป็น รู้จักอดออมและแบ่งปัน ไม่ทะเยอทะยานฟุ้งเฟ้อเกินตัว มีภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจที่ดี ทั้งทรัพย์สินของทางราชการและทรัพย์สินส่วนตัว

ประสิทธิภาพ

การปฏิบัติงานที่ คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยมีประโยชน์สุขของประชาชนและ การพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนเป็นหลักชัย

4 . หลักในการครองตน

พึ่งตนเอง

การพึ่งตนเองด้วยสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ เพื่อนำพาให้ตนประสบความสำเร็จในชีวิตและคลี่คลายจากปัญหาที่ประสบอยู่ การพึ่งตนเองของข้าราชการจำเป็นต้อง มีความมั่นใจในความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ และศักยภาพของตนเองเพื่อเป็นหลักในการปฏิบัติราชการให้ประสบผลสัมฤทธิ์ตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

พอดี

ความพอเหมาะพอควรและเป็นขั้นตอน ไม่ช้าไป ไม่เร็วไป ไม่ก้าวกระโดด ไม่ประมาท รู้จักเลือกสรร และใช้อย่างเหมาะสมระมัดระวังการปฏิบัติราชการจำเป็นต้องเข้าใจขอบเขต ของเรื่องหรือกรอบของงานให้กระจ่างและลงมือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

พอเพียง

ความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาเหตุผลให้รอบคอบสร้างภูมิคุ้มกันให้ตนเองอย่างมั่นคง ไม่ไขว้เขวไปกับสิ่งที่ยั่วยุ มีความทะเยอทะยานในหน้าที่การงานและการดำรงชีวิตตามโอกาสและฐานะ แสวงหาความก้าวหน้าโดยไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ไม่แก่งแย่งแข่งขัน แต่เน้นการให้และแบ่งปัน เพื่อสร้างความสุขทางใจให้มากขึ้น

พอใจ

ความพอใจและภูมิใจในสถานภาพและการดำรงชีวิตของตนด้วยการใช้ชีวิตอย่างมีศกดิ์ศรีและสง่างาม

พอเพียงตามรอยพระยุคลบาท

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญา ชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียรมีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

สร้างโดย: 
นางสาว ศิริลักษณ์ รสธรรม ชั้น ม.5/4 เลขที่17

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 468 คน กำลังออนไลน์