• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('การประเมินค่าต้นไม้ยักษ์ในเมืองและทรัพยากรป่าไม้', 'node/230300', '', '3.134.79.121', 0, '643a999ab9a447810451d44c2b09c18a', 183, 1716902154) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8a04f81293f8b35d4d53cc9a79b6b811' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>       <span style=\"color: #50af59\">         ช่างบุ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #6bd63d\"><span style=\"color: #50af59\">         ช่างบุ เป็นช่างฝีมือประเภทหนึ่งในจำพวกช่างสิบหมู่ ได้ใช้ฝีมือทำการช่างในลักษณะตกแต่งผิวภายนอก ของงานประเภทศิลปภัณฑ์ ครุภัณฑ์ และสถาปัตยกรรมบางลักษณ์ด้วยงานบุ ให้มีคุณค่าสวยงามและมั่งคงถาวร<br />\n           คำว่า &quot;บุ&quot; เป็นคำกริยาอย่างหนึ่ง หมายถึง การเอาของบางๆ หรืออีกนัยหนึ่งคือ การตีให้เข้ารูป เช่น บุขันทองลงหิน เป็นต้น <br />\n           ช่างบุ ที่เป็นช่างหลวงอยู่ในจำพวกช่างสิบหมู่มาแต่โบราณกาล คือ ช่างประเภทที่ทำการบุโลหะให้แผ่ออก เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำไปหุ้มคลุมปิดเข้ากับ &quot;หุ่น&quot; ชนิดต่างๆ เพื่อปิดประดับทำเป็นผิวภายนอกของ &quot;หุ่น&quot; ที่ทำขึ้นด้วย วัตถุต่างๆ เช่น ไม้ ปูน โลหะ หิน เป็นต้น ให้เกิดความงาม มีคุณค่า และความคงทนถาวรอยู่ได้นานปี<br />\n           งานบุโลหะทำขึ้นสำหรับหุ้มห่อปิดคลุมหุ่นชนิดต่างๆ อาจทำแก่สิ่งที่เรียกว่าหุ่นขนาดย่อมๆ ไปจนกระทั่งทำ แก่หุ่นขนาดใหญ่มาก ดังตัวอย่างงานบุในแต่ละสมัยต่อไปนี้ <br />\n           เมื่อสมัยสุโขทัย มีความในจารึกบนหลักศิลาบางหลักระบุเรื่อง การตีโลหะแผ่เป็นแผ่นแล้วบุหุ้มพระพุทธปฏิมา กรอยู่หลายความ หลายแห่งด้วยกัน เป็นต้นว่า จารึกศิลาวัดช้างล้อม ระบุความว่า<br />\n           &quot;...จึงมาเอาสร้อยทองแถวหนึ่งตีโสมพอกพระเจ้า...&quot;<br />\n           สมัยล้านนา มีความว่าต้องการช่างบุนี้บันทึกเข้าไว้ในตำนานการสถาปนาศาสนสถานสำคัญมีความตอน หนึ่งใน ชินกาลมาลีปกรณ์ ว่าด้วยการบุโลหะหุ้มพระมหาเจดีย์ ณ วัดเจดีย์หลวง กลางเมืองเชียงใหม่ เมื่อรัชกาล พระเจ้าติโลกราช<br />\n           ต่อมาถึงสมัยอยุธยา พระพุทธปฏิมากรจำนวนไม่น้อยที่ได้รับการสถาปนาขึ้นในช่วงสมัยอันยาวนานถึง ๔๐๐ ปี ก็ได้รับความนิยมใช้โลหะมีค่าหุ้มห่อหุ้มองค์พระให้สวยงามและมีคุณค่าเพิ่มขึ้น พระพุทธปฏิมากรสำคัญองค์หนึ่ง ได้รับการบุด้วยทองคำ คือ พระพุทธปฏิมาพระศรีสรรเพชญ์<br />\n           ครั้นมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ การช่างบุยังได้รับการผดุงรักษาให้มีอยู่ต่อมาในหมู่ช่างหลวงจำพวกช่างสิบหมู่ ได้ทำการบุโลหะเป็นเครื่องประดับตกแต่งต่างๆ เช่น บุโลหะประดับฐานเบญจา บุทำพระลองประกอบพระโกศ บุธาร พระกร บุฝักพระแสง ฝักดอาบ และมีงานบุโลหะชิ้นสำคัญยิ่งชิ้นหนึ่ง คือ บุษบกที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตน ศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง เป็นบุษบกที่ทำโครงสร้างด้วยไม้แล้วบุหุ้มด้วยทองคำทั้งองค์ ในจดหมายเหตุการ ปฏิสังขรณ์ วัดรพะศรีรัตนศาสดาราม เมื่อรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความบอกลักษณะบุษบก ไว้ว่า<br />\n           &quot;...และพระมหาบุษบกนั้น ย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง สูงแปดศอกคืบแผ่สุวรรณธรรมชาติ หุ้มคงแต่เชิงฐานปัทมขึ้น ไปถึงสุดยอด&quot; <br />\nงานบุ <br />\n           งานบุ ซึ่งเป็นงานช่างที่ทำให้เป็นผลสำเร็จได้ด้วยการปฏิบัติงานตามขนบนิยมอย่างโบราณวิธีบุโลหะ อาจลำดับหลักการและวิธีการให้ทราบดังต่อไปนี้ <br />\nวัสดุ <br />\n           วัสดุที่เหมาะสมจะนำมาใช้สำหรับงานบุ ที่เป็นมาแต่กาลก่อน คือ<br />\n           ทองคำ<br />\n           ทองแดง<br />\n           ดีบุก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #6bd63d\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #6bd63d\"><img border=\"0\" width=\"102\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:By_JRPEyzsPwmM:http://pics.manager.co.th/Images/552000005656006.JPEG\" height=\"127\" /></span><span style=\"color: #6bd63d\"> </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #6bd63d\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #6bd63d\"></span><span style=\"color: #6bd63d\"></span>\n</p>\n', created = 1716902174, expire = 1716988574, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8a04f81293f8b35d4d53cc9a79b6b811' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ช่างบุ

                ช่างบุ 

         ช่างบุ เป็นช่างฝีมือประเภทหนึ่งในจำพวกช่างสิบหมู่ ได้ใช้ฝีมือทำการช่างในลักษณะตกแต่งผิวภายนอก ของงานประเภทศิลปภัณฑ์ ครุภัณฑ์ และสถาปัตยกรรมบางลักษณ์ด้วยงานบุ ให้มีคุณค่าสวยงามและมั่งคงถาวร
           คำว่า "บุ" เป็นคำกริยาอย่างหนึ่ง หมายถึง การเอาของบางๆ หรืออีกนัยหนึ่งคือ การตีให้เข้ารูป เช่น บุขันทองลงหิน เป็นต้น
           ช่างบุ ที่เป็นช่างหลวงอยู่ในจำพวกช่างสิบหมู่มาแต่โบราณกาล คือ ช่างประเภทที่ทำการบุโลหะให้แผ่ออก เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำไปหุ้มคลุมปิดเข้ากับ "หุ่น" ชนิดต่างๆ เพื่อปิดประดับทำเป็นผิวภายนอกของ "หุ่น" ที่ทำขึ้นด้วย วัตถุต่างๆ เช่น ไม้ ปูน โลหะ หิน เป็นต้น ให้เกิดความงาม มีคุณค่า และความคงทนถาวรอยู่ได้นานปี
           งานบุโลหะทำขึ้นสำหรับหุ้มห่อปิดคลุมหุ่นชนิดต่างๆ อาจทำแก่สิ่งที่เรียกว่าหุ่นขนาดย่อมๆ ไปจนกระทั่งทำ แก่หุ่นขนาดใหญ่มาก ดังตัวอย่างงานบุในแต่ละสมัยต่อไปนี้
           เมื่อสมัยสุโขทัย มีความในจารึกบนหลักศิลาบางหลักระบุเรื่อง การตีโลหะแผ่เป็นแผ่นแล้วบุหุ้มพระพุทธปฏิมา กรอยู่หลายความ หลายแห่งด้วยกัน เป็นต้นว่า จารึกศิลาวัดช้างล้อม ระบุความว่า
           "...จึงมาเอาสร้อยทองแถวหนึ่งตีโสมพอกพระเจ้า..."
           สมัยล้านนา มีความว่าต้องการช่างบุนี้บันทึกเข้าไว้ในตำนานการสถาปนาศาสนสถานสำคัญมีความตอน หนึ่งใน ชินกาลมาลีปกรณ์ ว่าด้วยการบุโลหะหุ้มพระมหาเจดีย์ ณ วัดเจดีย์หลวง กลางเมืองเชียงใหม่ เมื่อรัชกาล พระเจ้าติโลกราช
           ต่อมาถึงสมัยอยุธยา พระพุทธปฏิมากรจำนวนไม่น้อยที่ได้รับการสถาปนาขึ้นในช่วงสมัยอันยาวนานถึง ๔๐๐ ปี ก็ได้รับความนิยมใช้โลหะมีค่าหุ้มห่อหุ้มองค์พระให้สวยงามและมีคุณค่าเพิ่มขึ้น พระพุทธปฏิมากรสำคัญองค์หนึ่ง ได้รับการบุด้วยทองคำ คือ พระพุทธปฏิมาพระศรีสรรเพชญ์
           ครั้นมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ การช่างบุยังได้รับการผดุงรักษาให้มีอยู่ต่อมาในหมู่ช่างหลวงจำพวกช่างสิบหมู่ ได้ทำการบุโลหะเป็นเครื่องประดับตกแต่งต่างๆ เช่น บุโลหะประดับฐานเบญจา บุทำพระลองประกอบพระโกศ บุธาร พระกร บุฝักพระแสง ฝักดอาบ และมีงานบุโลหะชิ้นสำคัญยิ่งชิ้นหนึ่ง คือ บุษบกที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตน ศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง เป็นบุษบกที่ทำโครงสร้างด้วยไม้แล้วบุหุ้มด้วยทองคำทั้งองค์ ในจดหมายเหตุการ ปฏิสังขรณ์ วัดรพะศรีรัตนศาสดาราม เมื่อรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความบอกลักษณะบุษบก ไว้ว่า
           "...และพระมหาบุษบกนั้น ย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง สูงแปดศอกคืบแผ่สุวรรณธรรมชาติ หุ้มคงแต่เชิงฐานปัทมขึ้น ไปถึงสุดยอด"
งานบุ
           งานบุ ซึ่งเป็นงานช่างที่ทำให้เป็นผลสำเร็จได้ด้วยการปฏิบัติงานตามขนบนิยมอย่างโบราณวิธีบุโลหะ อาจลำดับหลักการและวิธีการให้ทราบดังต่อไปนี้
วัสดุ
           วัสดุที่เหมาะสมจะนำมาใช้สำหรับงานบุ ที่เป็นมาแต่กาลก่อน คือ
           ทองคำ
           ทองแดง
           ดีบุก

 

สร้างโดย: 
opal

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 157 คน กำลังออนไลน์