• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:218e062d7b82e59c0eb0839ee95c365b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-foot-in-mouth.gif\" alt=\"Foot in mouth\" title=\"Foot in mouth\" /> <span style=\"color: #ff0000\"><b>โรคสมองอักเสบ</b></span> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-foot-in-mouth.gif\" alt=\"Foot in mouth\" title=\"Foot in mouth\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"300\" src=\"/files/u19304/csfvent.gif\" height=\"300\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://faculty.washington.edu/chudler/gif/csfvent.gif\" title=\"http://faculty.washington.edu/chudler/gif/csfvent.gif\">http://faculty.washington.edu/chudler/gif/csfvent.gif</a>\n</div>\n<p>\n<b> โรคสมองอักเสบ</b>หรือศัพท์ทางการแพทย์เรียก Encephalitis หมายถึงมีการอักเสบของเนื้อสมอง การอักเสบอาจจะเกิดทั้งสมองหรือบางส่วนของเนื้อสมอง สาเหตุของสมองอักเสบมักจะเกิดจากไวรัสเช่น เริม คางทูม หัดเยอรมัน ไข้สุกใส นอกจากนั้นยังเกิดจากยุงหรือไรกัดเช่น Japanese encephalitis</p>\n<p>cerebritis หมายถึงการอักเสบของสมองโดยมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หากไม่รักษาจะกลายเป็นฝีในสมอง\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #33cccc\"><b>สาเหตุ </b></span>\n</p>\n<p>\nของสมองอักเสบส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส การติดต่อโดยมากเกิดจากยุง ไรกัด เช่นโรคสมองอักเสบจากไวรัสสายพันธ์ยี่ปุ่น japaness encephalitis บางชนิดเกิดจากการที่สัตว์เช่นค้างคาวหรือสุนัขกัด เช่นโรคหมาบ้า</p>\n<p>ประเภทของการติดเชื้อแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ</p>\n<p>* ติด เชื้อครั้งแรก Primary encephalitis หมายถึงการติดเชื้อไวรัสเป็นครั้งแรกและเชื้อนั้นก็ทำให้เกิดสมองอักเสบ มักจะมีการระบาดเป็นครั้งคราว เช่นไขสมองอักเสบสายพันธ์ญี่ปุ่น<br />\n* สมองอักเสบซึ่งเกิดจากเชื้อที่อยู่ในร่างกายเรียก Secondary (post-infectious) encephalitis เช่นสมองอักเสบจากเชื้อเริม\n</p>\n<p>\nเชื้อที่เป็นสาเหตุของสมองอักเสบ</p>\n<p>1. Herpes viruses เมื่อคนได้รับเชื้อจะทำให้เกิดโรคเริมซึ่งอาจจะเกิดแผลที่ปากหรืออวัยวะเพศ หลังจากนั้นเชื้อจะอยู่ในร่างกาย เมื่อคนมีภูมิลดลงเชื้อที่อยู่ในร่างกายจะกำเริบทำให้เกิดสมองอักเสบ อ่านโรคเริมที่นี่<br />\n* Herpes simplex virus<br />\n* Varicella-zoster virus<br />\n* Epstein-Barr virus<br />\n2. Childhood infections<br />\n* Measles (rubeola)<br />\n* Mumps<br />\n* Rubella (German measles)<br />\n3. Arboviruses สัตว์ที่เป็นแหล่งพักเชื้อได้แก่ หมู นก ยุงและไรจะเป็นตัวนำเชื้อโรคมาสู่คนโดยการกัดสัตว์ที่เป็นดรค และเมื่อมากัดคนก็จะปล่อยเชื้อสู่คน หากเชื้อมีปริมาณมากพอก็จะทำให้เกิดโรค<br />\n* Eastern equine encephalitis<br />\n* Western equine encephalitis<br />\n* St. Louis encephalitis<br />\n* La Crosse encephalitis<br />\n* West Nile encephalitis<br />\n* Japanese encephalitis เป็นโรคไข้สมองอักเสบที่พบมากในเอเซียปีละประมาณ 50000 รายและเสียชีวิตประมาณปีละ 15000 รายพบมากในเด็กและวัยรุ่น หมูเลี้ยงและนกเป็นสัตว์ที่มีเชื้อ โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค<br />\n<span style=\"color: #ff99cc\"><b><br />\nปัจจัยเสี่ยงต่อการติดโรค</b></span></p>\n<p>* อายุ สมองอักเสบบางชนิดมักจะเป็นในเด็ก<br />\n* ภูมิคุ้มกัน ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องมีโอการของสมองอักเสบสูงกว่าคนอื่น<br />\n* ภูมิสาสตร์ ผู้ที่อาศัยหรือไปเที่ยวยังแหล่งที่มีการระบาดของโรคก็จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค<br />\n* สภาพความเป็นอยู่ ผู้ที่มีกิจกรรมนอกบ้านมาก เช่นการวิ่งนอกบ้าน ตีกอลฟ์ การดูนก ดังนั้นในช่วงที่มีการระบาดต้องระวังเป็นพิเศษ<br />\n* ฤดูกาล\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #993300\">อาการของผู้ป่วยสมองอักเสบ</span></b>                              <img align=\"right\" width=\"399\" src=\"/files/u19304/je.jpg\" height=\"271\" /></p>\n<p>ผู้เป็นไม่มากจะมีอาการ      </p>\n<p>* ไข้<br />\n* อ่อนเพลียไม่มีแรง<br />\n* เจ็บคอ<br />\n* คอแข็ง<br />\n* อาเจียน<br />\n* ปวดศีรษะ<br />\n* สับสน<br />\n* กระสับกระส่าย<br />\n* ซึม<br />\n* ปวดหัวเมื่อแสงจ้าๆ</p>\n<p>สำหรับผู้ที่มีอาการมากได้แก่</p>\n<p>* ซึม ไม่ค่อยรู้สึกตัว<br />\n* สับสนไม่รู้วันหรือกลางคืน จำคนไม่ได้<br />\n* ชัก<br />\n* ไข้สูง<br />\n* ปวดศีรษะมาก                    <br />\n* คลื่นไส้อาเจียน                                                        <a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u65/je.jpg\" title=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u65/je.jpg\">http://www.suriyothai.ac.th/files/u65/je.jpg</a><br />\n* มือสั่น<br />\n* คอแข็ง</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\"><b>การวินิจฉัยโรค</b></span></p>\n<p>เมื่อ มีผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับโรคไข้สมองอักเสบโดยเแพาะรายที่มีไข้และมีการ เปลี่ยนแปลงของความรู้สึก ก็จะต้องตรวจพิเศษเพื่อวินิจฉัยแยกโรค การตรวจที่สำคัญได้แก่</p>\n<p>* การเจาะเอาน้ำไขสันหลังไปตรวจภาษาแพทย์เรียก Spinal tap (lumbar puncture) แพทย์จะใช้เข็มเจาะเข้าไขสันหลัง และเอาน้ำไขสันหลังไปตรวจ<br />\n* การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง Electroencephalography (EEG).เป็นการวัดไฟฟ้าของสมอง การตรวจนี้จะมีประโยชน์มากในรายที่มีอาการชัก<br />\n* การตรวจรังสีสมอง หรือการตรวจ computerized tomography (CT) or magnetic resonance imaging (MRI) scan จะบอกได้ว่าสมองส่วนไหนมีการบวม<br />\n* การตรวจเนื้อเยื่อสมองเพื่อหาตัวเชื้อโรค<br />\n<span style=\"color: #008080\"><b></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><b><br />\nโรคแทรกซ้อน</b></span></p>\n<p>ผู้ที่มีสมองอักเสบแบบรุนแรงอาจจะมีโรคแทรกซ้อนได้หลายประการ                      <b>การเเผ่กระจายของเชื้อโรค</b></p>\n<p>* เสียชีวิต                                                           <img align=\"right\" width=\"319\" src=\"/files/u19304/Group2_21_1.jpg\" height=\"250\" /><br />\n* หายใจวาย<br />\n* โคม่า<br />\n* ความจำเสื่อม<br />\n* ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อ<br />\n* หูหนวกหรือตาบอด</p>\n<p>เมื่อไรจึงจะพบแพทย์</p>\n<p>หากคุณมีอาการดังกล่าวข้างต้นร่วมกับภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเช่น</p>\n<p>* เป็นเริมที่ปากหรืออวัยวะเพศ<br />\n* เมื่อคุณเข้าป่า และสงสัยว่าถูกยุงกัด<br />\n* เมื่อคุณไปในแหล่งที่มีการระบาดของโรค<br />\n<span style=\"color: #808080\"><b><br />\n</b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><b>การรักษา</b></span></p>\n<p>โดยทั่วไปหากไม่รุนแรงอาจจะหายเองได้ โดย</p>\n<p>* การพักผ่อนให้พอเพียง               <a href=\"http://epid.moph.go.th/Homepage_Annual46/WESR47/Group2/Group2_21_1.jpg\" title=\"http://epid.moph.go.th/Homepage_Annual46/WESR47/Group2/Group2_21_1.jpg\">http://epid.moph.go.th/Homepage_Annual46/WESR47/Group2/Group2_21_1.jpg</a><br />\n* ดื่มน้ำมากๆ<br />\n* ยาแก้ปวดพาราเซ็ตตามอล<br />\n* ยาแก้สมองบวม<br />\n* ยากันชัก หากผู้ป่วยมีอาการชัก</p>\n<p>แต่ การรักษาโรคมักจะไม่มียาเฉพาะโรค เนื่องจากไวรัสที่เป็นสาเหตุไม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษานอกเสียจากเชื้อไวรัส เริมอาจจะตอบสนองต่อการรักษา<br />\n<b><span style=\"color: #ff6600\"><br />\n</span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff6600\">การป้องกันโรค</span></b></p>\n<p>เนื่องจากโรคนี้เมื่อเป็นแล้วไม่มียาที่รักษาเฉพาะ ดังนั้นการป้องกันจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด</p>\n<p>* ฉีดวัคซีนป้องกันโรค เช่น ไข้สุกใส คางทูม หัดเยอรมัน วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ<br />\n* ใส่เสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวเมื่อต้องออกนอกบ้าน<br />\n* ทายากันยุงที่เสื้อผ้า ความเข้มข้นของยาขึ้นกับระยะเวลาที่ป้องกัน<br />\n* หลีกเลี่ยงการถูกยุงกัด โดยหลีกเลี่ยงแหล่งที่มียุงมาก<br />\n* กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง<br />\n* ให้สำรวจสิ่งแวดล้อม ว่ามีสัตว์ตายผิดปกติบ้างหรือไม่\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"209\" src=\"/files/u19304/29_20080121101733_.gif\" height=\"215\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://images.thaiza.com/29/29_20080121101733..gif\">http://images.thaiza.com/29/29_20080121101733..gif</a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41860\" title=\"หน้าเเรก\"><img width=\"209\" src=\"/files/u19304/29_20080121101733_.gif\" height=\"215\" style=\"width: 101px; height: 78px\" /></a>                          <a href=\"/node/49217\" title=\"โรคติดต่อ\"><img width=\"209\" src=\"/files/u19304/29_20080121101733_.gif\" height=\"215\" style=\"width: 101px; height: 78px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n  \n</p>\n', created = 1718645181, expire = 1718731581, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:218e062d7b82e59c0eb0839ee95c365b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคไข้สมองอักเสบ

รูปภาพของ youdo2009

 

Foot in mouth โรคสมองอักเสบ Foot in mouth

 

 โรคสมองอักเสบหรือศัพท์ทางการแพทย์เรียก Encephalitis หมายถึงมีการอักเสบของเนื้อสมอง การอักเสบอาจจะเกิดทั้งสมองหรือบางส่วนของเนื้อสมอง สาเหตุของสมองอักเสบมักจะเกิดจากไวรัสเช่น เริม คางทูม หัดเยอรมัน ไข้สุกใส นอกจากนั้นยังเกิดจากยุงหรือไรกัดเช่น Japanese encephalitis

cerebritis หมายถึงการอักเสบของสมองโดยมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หากไม่รักษาจะกลายเป็นฝีในสมอง


สาเหตุ

ของสมองอักเสบส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส การติดต่อโดยมากเกิดจากยุง ไรกัด เช่นโรคสมองอักเสบจากไวรัสสายพันธ์ยี่ปุ่น japaness encephalitis บางชนิดเกิดจากการที่สัตว์เช่นค้างคาวหรือสุนัขกัด เช่นโรคหมาบ้า

ประเภทของการติดเชื้อแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

* ติด เชื้อครั้งแรก Primary encephalitis หมายถึงการติดเชื้อไวรัสเป็นครั้งแรกและเชื้อนั้นก็ทำให้เกิดสมองอักเสบ มักจะมีการระบาดเป็นครั้งคราว เช่นไขสมองอักเสบสายพันธ์ญี่ปุ่น
* สมองอักเสบซึ่งเกิดจากเชื้อที่อยู่ในร่างกายเรียก Secondary (post-infectious) encephalitis เช่นสมองอักเสบจากเชื้อเริม

เชื้อที่เป็นสาเหตุของสมองอักเสบ

1. Herpes viruses เมื่อคนได้รับเชื้อจะทำให้เกิดโรคเริมซึ่งอาจจะเกิดแผลที่ปากหรืออวัยวะเพศ หลังจากนั้นเชื้อจะอยู่ในร่างกาย เมื่อคนมีภูมิลดลงเชื้อที่อยู่ในร่างกายจะกำเริบทำให้เกิดสมองอักเสบ อ่านโรคเริมที่นี่
* Herpes simplex virus
* Varicella-zoster virus
* Epstein-Barr virus
2. Childhood infections
* Measles (rubeola)
* Mumps
* Rubella (German measles)
3. Arboviruses สัตว์ที่เป็นแหล่งพักเชื้อได้แก่ หมู นก ยุงและไรจะเป็นตัวนำเชื้อโรคมาสู่คนโดยการกัดสัตว์ที่เป็นดรค และเมื่อมากัดคนก็จะปล่อยเชื้อสู่คน หากเชื้อมีปริมาณมากพอก็จะทำให้เกิดโรค
* Eastern equine encephalitis
* Western equine encephalitis
* St. Louis encephalitis
* La Crosse encephalitis
* West Nile encephalitis
* Japanese encephalitis เป็นโรคไข้สมองอักเสบที่พบมากในเอเซียปีละประมาณ 50000 รายและเสียชีวิตประมาณปีละ 15000 รายพบมากในเด็กและวัยรุ่น หมูเลี้ยงและนกเป็นสัตว์ที่มีเชื้อ โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค

ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดโรค

* อายุ สมองอักเสบบางชนิดมักจะเป็นในเด็ก
* ภูมิคุ้มกัน ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องมีโอการของสมองอักเสบสูงกว่าคนอื่น
* ภูมิสาสตร์ ผู้ที่อาศัยหรือไปเที่ยวยังแหล่งที่มีการระบาดของโรคก็จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
* สภาพความเป็นอยู่ ผู้ที่มีกิจกรรมนอกบ้านมาก เช่นการวิ่งนอกบ้าน ตีกอลฟ์ การดูนก ดังนั้นในช่วงที่มีการระบาดต้องระวังเป็นพิเศษ
* ฤดูกาล

อาการของผู้ป่วยสมองอักเสบ                             

ผู้เป็นไม่มากจะมีอาการ     

* ไข้
* อ่อนเพลียไม่มีแรง
* เจ็บคอ
* คอแข็ง
* อาเจียน
* ปวดศีรษะ
* สับสน
* กระสับกระส่าย
* ซึม
* ปวดหัวเมื่อแสงจ้าๆ

สำหรับผู้ที่มีอาการมากได้แก่

* ซึม ไม่ค่อยรู้สึกตัว
* สับสนไม่รู้วันหรือกลางคืน จำคนไม่ได้
* ชัก
* ไข้สูง
* ปวดศีรษะมาก                   
* คลื่นไส้อาเจียน                                                        http://www.suriyothai.ac.th/files/u65/je.jpg
* มือสั่น
* คอแข็ง

การวินิจฉัยโรค

เมื่อ มีผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับโรคไข้สมองอักเสบโดยเแพาะรายที่มีไข้และมีการ เปลี่ยนแปลงของความรู้สึก ก็จะต้องตรวจพิเศษเพื่อวินิจฉัยแยกโรค การตรวจที่สำคัญได้แก่

* การเจาะเอาน้ำไขสันหลังไปตรวจภาษาแพทย์เรียก Spinal tap (lumbar puncture) แพทย์จะใช้เข็มเจาะเข้าไขสันหลัง และเอาน้ำไขสันหลังไปตรวจ
* การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง Electroencephalography (EEG).เป็นการวัดไฟฟ้าของสมอง การตรวจนี้จะมีประโยชน์มากในรายที่มีอาการชัก
* การตรวจรังสีสมอง หรือการตรวจ computerized tomography (CT) or magnetic resonance imaging (MRI) scan จะบอกได้ว่าสมองส่วนไหนมีการบวม
* การตรวจเนื้อเยื่อสมองเพื่อหาตัวเชื้อโรค


โรคแทรกซ้อน

ผู้ที่มีสมองอักเสบแบบรุนแรงอาจจะมีโรคแทรกซ้อนได้หลายประการ                      การเเผ่กระจายของเชื้อโรค

* เสียชีวิต                                                          
* หายใจวาย
* โคม่า
* ความจำเสื่อม
* ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อ
* หูหนวกหรือตาบอด

เมื่อไรจึงจะพบแพทย์

หากคุณมีอาการดังกล่าวข้างต้นร่วมกับภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเช่น

* เป็นเริมที่ปากหรืออวัยวะเพศ
* เมื่อคุณเข้าป่า และสงสัยว่าถูกยุงกัด
* เมื่อคุณไปในแหล่งที่มีการระบาดของโรค

การรักษา

โดยทั่วไปหากไม่รุนแรงอาจจะหายเองได้ โดย

* การพักผ่อนให้พอเพียง               http://epid.moph.go.th/Homepage_Annual46/WESR47/Group2/Group2_21_1.jpg
* ดื่มน้ำมากๆ
* ยาแก้ปวดพาราเซ็ตตามอล
* ยาแก้สมองบวม
* ยากันชัก หากผู้ป่วยมีอาการชัก

แต่ การรักษาโรคมักจะไม่มียาเฉพาะโรค เนื่องจากไวรัสที่เป็นสาเหตุไม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษานอกเสียจากเชื้อไวรัส เริมอาจจะตอบสนองต่อการรักษา

การป้องกันโรค

เนื่องจากโรคนี้เมื่อเป็นแล้วไม่มียาที่รักษาเฉพาะ ดังนั้นการป้องกันจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด

* ฉีดวัคซีนป้องกันโรค เช่น ไข้สุกใส คางทูม หัดเยอรมัน วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ
* ใส่เสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวเมื่อต้องออกนอกบ้าน
* ทายากันยุงที่เสื้อผ้า ความเข้มข้นของยาขึ้นกับระยะเวลาที่ป้องกัน
* หลีกเลี่ยงการถูกยุงกัด โดยหลีกเลี่ยงแหล่งที่มียุงมาก
* กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
* ให้สำรวจสิ่งแวดล้อม ว่ามีสัตว์ตายผิดปกติบ้างหรือไม่

 

http://images.thaiza.com/29/29_20080121101733..gif  

 

                         

  

สร้างโดย: 
อ. สมาน ถวิลกิจ เเละ น.ส. สุพัตรา บุญพรม ม.6/7 เลขที่ 24 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 556 คน กำลังออนไลน์