• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:961b533b0fd559a490938419d20499ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u></u></span></span></span></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u20258/banner1.gif\" height=\"225\" /></span></u></span></span></span></span></span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u></u></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u> นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 </u></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong><strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u> พระยามโนปกรณนิติธาดา <br />\n</u></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u> (ก้อน หุตะสิงห์)</u> </span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u></u></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u><img border=\"0\" width=\"283\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 191px; height: 238px\" /></u></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\">ภาพจาก</span></span></span></span></span> :</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u><a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg</a></u></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><u></u></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"> ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง</span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 1 :  28 มิถุนายน 2475 - 9 ธันวาคม 2475 \n</p>\n<p align=\"center\">\n สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 :  10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476 \n</p>\n<p align=\"center\">\n สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 :  1 เมษายน 2476 - 20 มิถุนายน 2476\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"> ประวัติ </span></span></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"> พระยามโนปกรณนิติธาดาชื่อเดิมว่า &quot;ก้อน หุตะสิงห์&quot; </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #333333; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n เกิดที่จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2427 เวลา 11.20 น.\n</p>\n<p align=\"center\">\n เป็นบุตรของนายฮวดกับนางแก้ว หุตะสิงห์\n</p>\n<p align=\"center\">\n สมรสกับคุณหญิงมโนปกรณนิติธาดา (นิตย์ สามเสน)\n</p>\n<p align=\"center\">\n เริ่มการศึกษาชั้นต้นที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ)\n</p>\n<p align=\"center\">\n จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย\n</p>\n<p align=\"center\">\n โรงเรียนอัสสัมชัญวิทยาลัย\n</p>\n<p align=\"center\">\n และโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม ตามลำดับ\n</p>\n<p align=\"center\">\n จนสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตสยาม\n</p>\n<p align=\"center\">\n และต่อมาได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ\n</p>\n<p align=\"center\">\n จนสำเร็จเนติบัณฑิตอังกฤษ จาก The Middle Temple\n</p>\n<p align=\"center\">\n หลังจากสำเร็จเนติบัณฑิตสยามได้เข้ารับราชการที่กระทรวงยุติธรรม\n</p>\n<p align=\"center\">\n และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ\n</p>\n<p align=\"center\">\n จนกระทั่งได้เป็นสมุหพระนิติศาสตร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n และพระยามโนปกรณนิติธาดาในที่สุดในปี พ.ศ. 2461\n</p>\n<p align=\"center\">\n ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว\n</p>\n<p align=\"center\">\n ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาราชการในพระองค์\n</p>\n<p align=\"center\">\n เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธย\n</p>\n<p align=\"center\">\n ในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475\n</p>\n<p align=\"center\">\n เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475\n</p>\n<p align=\"center\">\n ได้มีการประชุมคณะราษฎรครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2475 เวลา 14.00 น. ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม\n</p>\n<p align=\"center\">\n และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นประธานคณะกรรมการราษฎร\n</p>\n<p align=\"center\">\n ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในการบริหารเทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ตำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการราษฎรอยู่จนถึงวันที่ 9 ธันวาคม 2475 จึงได้ลาออก\n</p>\n<p align=\"center\">\n พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475\n</p>\n<p align=\"center\">\n และพระยามโนปกรณนิติธาดาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญอีกครั้งหนึ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n ต่อมา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2476 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว\n</p>\n<p align=\"center\">\n ขอให้ทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร\n</p>\n<p align=\"center\">\n และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476  พันเอก  พระยาพหลพลพยุหเสนาได้เข้ายึดอำนาจจากรัฐบาล\n</p>\n<p align=\"center\">\n พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี\n</p>\n<p align=\"center\">\n และย้ายไปพำนักอยู่ที่ปีนังเป็นเวลา 16 ปีเศษ\n</p>\n<p align=\"center\">\n และได้ถึงแก่อสัญกรรม ณ ที่นั้น เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43422\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u20258/Untitled6.jpg\" height=\"52\" /></a><a href=\"/node/49354\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u20258/Untitled5.jpg\" height=\"52\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726857959, expire = 1726944359, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:961b533b0fd559a490938419d20499ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คนที่ 1 พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

 นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 

 พระยามโนปกรณนิติธาดา 

 (ก้อน หุตะสิงห์)

ภาพจาก :

http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg

 ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง


 สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 1 :  28 มิถุนายน 2475 - 9 ธันวาคม 2475 

 สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 :  10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476 

 สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 :  1 เมษายน 2476 - 20 มิถุนายน 2476

 ประวัติ  

 พระยามโนปกรณนิติธาดาชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์"

 เกิดที่จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2427 เวลา 11.20 น.

 เป็นบุตรของนายฮวดกับนางแก้ว หุตะสิงห์

 สมรสกับคุณหญิงมโนปกรณนิติธาดา (นิตย์ สามเสน)

 เริ่มการศึกษาชั้นต้นที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ)

 จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

 โรงเรียนอัสสัมชัญวิทยาลัย

 และโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม ตามลำดับ

 จนสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตสยาม

 และต่อมาได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ

 จนสำเร็จเนติบัณฑิตอังกฤษ จาก The Middle Temple

 หลังจากสำเร็จเนติบัณฑิตสยามได้เข้ารับราชการที่กระทรวงยุติธรรม

 และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ

 จนกระทั่งได้เป็นสมุหพระนิติศาสตร์

 และพระยามโนปกรณนิติธาดาในที่สุดในปี พ.ศ. 2461

 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

 ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาราชการในพระองค์

 เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธย

 ในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475

 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475

 ได้มีการประชุมคณะราษฎรครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2475 เวลา 14.00 น. ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม

 และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นประธานคณะกรรมการราษฎร

 ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในการบริหารเทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน

 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ตำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการราษฎรอยู่จนถึงวันที่ 9 ธันวาคม 2475 จึงได้ลาออก

 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475

 และพระยามโนปกรณนิติธาดาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญอีกครั้งหนึ่ง

 ต่อมา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2476 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

 ขอให้ทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร

 และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง

 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476  พันเอก  พระยาพหลพลพยุหเสนาได้เข้ายึดอำนาจจากรัฐบาล

 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

 และย้ายไปพำนักอยู่ที่ปีนังเป็นเวลา 16 ปีเศษ

 และได้ถึงแก่อสัญกรรม ณ ที่นั้น เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ

สร้างโดย: 
คุณครูวิรัติ พนารัตน์ และ นางสาวชวิศา จาตุรมาน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 466 คน กำลังออนไลน์