• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0dfe3bff1112d7ca77a3352d0d324883' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">อิเหนา</span></strong>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #003366\"> อิเหนาเป็นนิทานอิงพงศาวดารของประเทศชวา เหตุที่เกิดนิทานเรื่องนี้ก็เนื่องมาจากพวกชาวชวานับถือกันว่า อิเหนาเป็นกษัตริย์ที่ทรงอานุภาพมาก ถึงกับนำไปเล่าสู่กันฟัง ต่อมาเมื่อเรื่องอิเหนาแพร่มาถึงมลายู พวกมลายูก็นำเอาเรื่องอิเหนามาเล่นเป็นละครแขก <br />\nหรือหนังแขก นิทานเรื่องอิเหนาจึง เป็นนิทานที่แพร่หลายที่สุด เรื่องอิเหนาในชวามีหลายสำนวน ต้นฉบับเก่าเป็นหนังสือชวา          ชื่อ&quot;ปันหยี สะมิหลัง&quot;  ในไทยเรียกนามปันหยีว่าเป็นนามปลอมของพระเอก คือ อิเหนา ซึ่งต้นฉบับในชวาไม่นิยมเรียกว่า อิเหนา        แต่จะเรียกว่า ปันหยี ตลอดเรื่อง   ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเรื่องอิเหนาแม้ในชวาเองแต่ละสำนวนมีเรื่องแตกต่างกันไป มีเค้าที่จะลงรอยกับอิเหนาฉบับไทย ก็แต่ในกระบวนการชื่อเมือง  ชื่อคนและวงศ์วานบ้างเท่านั้น</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #003366\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #99cc00\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u18980/545.jpg\" height=\"200\" style=\"width: 176px; height: 215px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://mblog.manager.co.th/uploads/165/images/อิเหนา%20คู่.jpg\">http://mblog.manager.co.th/uploads/165/images/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%20%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88.jpg</a></p>\n<p>       นิทานอิเหนาเข้ามาเมืองไทยตามที่สันนิษฐานกันว่าคงจะเป็นหญิงเชลยแห่งปัตตานี ซึ่งเป็นข้าหลวงรับใช้เจ้าฟ้าหญิงกุณฑลและเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ พระราชธิดาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และคงได้เล่าเรื่องอิเหนาให้เจ้าหญิงทั้งสองฟัง เจ้าหญิงทั้งสองทรงเป็น     ผู้ฝึกหัดละครอยู่แล้ว คงจะได้นำเรื่องอิเหนามาแต่งเป็นบทละคร เกิดเป็นอิเหนาใหญ่(ดาหลัง)และอิเหนาเล็กขึ้น <br />\n       หนังสืออิเหนาพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่๒ กล่าวอ้างไว้เป็นเพลงยาว สำหรับผู้แต่งเรื่องอิเหนานั้น สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ประธานอธิบายว่าด้วยบทละครอิเหนาฉบับหอสมุดวชิรญาณ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ สำหรับทำนิงแต่งเรื่องอิเหนานั้น แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนบทละคร คือ ขึ้นต้นด้วย เมื่อนั้น บัดนั้น บางบทมีคำบอกหน้าบทสำหรับร้อง    นอกจากนี้ยังบอกชื่อเพลงหน้าพากย์ไว้ท้ายบทด้วย สำหรับภาษาที่ใช้ในหนังสืออิเหนา มีภาษาชวาปน มีภาษาบาลีสันสกฤต ภาษามลายูและคำไทยโบราณด้วยเป็นประโยชน์สำหรับผู้ต้องการศึกษาภาษาที่เข้ามาปนภาษาไทยได้เป็นอย่างดี<br />\n       บทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของพระบาทสมเด็จพระะพุทธเลิศหล้านภาลัย มีความดีเด่นครบทั้งองค์๕ของละคร คือ ตัวละครงาม   รำงาม ร้องไพเราะ พิณพากย์ไพเราะและกลอนไพเราะงดงาม   นอกจากนี้ยังให้ความรู้ในเรื่องโบราณราชประเพณีของไทย เช่น พิธีการ พระเมรุ พิธีสมโภชลูกหลวง พิธีโสกัณฑ์(โกนจุก)และพิธีรับแขกเมือง เป็นต้น\n</p>\n<p></p>\n<p>\n      <span style=\"color: #ff99cc; background-color: #800080\"> ด้วยเหตุผลดังกล่าว วรรณคดีสโมสร ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๖ ได้ตัดสินเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๙ ให้บทละครเรื่องอิเหนาเป็น &quot;ยอดของกลอนบทละคร&quot;<br />\n</span> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u18980/136320.jpg\" height=\"133\" style=\"width: 244px; height: 158px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://image.dek-d.com/13/1108275/13632083\">http://image.dek-d.com/13/1108275/13632083</a>\n</div>\n<p>\n<strong>เรื่องอิเหนาแบ่งเป็นตอน ๆ รวม ๑๗   ตอน</strong> คือ<br />\n          <span style=\"color: #993300\">ตอนที่ ๑  อิเหนาโอรสของท้าวกุเรปันได้หมั้นหมายกับบุษบาธิดาของท้าวดาหา แต่ทั้งสององค์ไม่เคยพบกันเลย<br />\n          ตอนที่ ๒ อิเหนาไปช่วยงานพระศพพระอัยกีที่เมืองหมันหยา ได้พบจินตะหราและรักใคร่ชอบพอกัน  อิเหนาจึงทำอุบายไปเที่ยวป่าเพื่อหนีพิธีสยุมพร<br />\n          ตอนที่ ๓ อิเหนากลับมาจากหมันหยา วิยะดาประสูติ ท้าวดาหาขอหมั้นวิยะดาให้สียะตราน้องบุษบา <br />\n          ตอนที่ ๔ อิเหนาปลอมตัวเป็นชาวป่าชื่อมิสาระปันหยี ได้นางมาหยารัศมีและสการะวาตีเป็นบรรณาการ ได้สังคามาระตาเป็นน้อง<br />\n          ตอนที่ ๕ อิเหนาออกปากอนุญาตให้บุษบาเลือกชายอื่นอภิเษกได้ ท้าวดาหาจึงประกาศบุษบาให้ใครก็ได้ที่มาสู่ขอ<br />\n          ตอนที่ ๖ ระตูจรกาต้องการมีมเหสีที่รูปงาม  จึงให้ช่างไปวาดรูปหญิงสาวตามเมืองต่าง ๆ มาให้เลือก ช่างวาดรูปบุษบาได้ ๒ รูป  จรกาเห็นรูปบุษบาก็หลงรักและให้ท้าวล่าสำผู้เชษฐาไปสู่ขอ<br />\n          ตอนที่ ๗ วิหยาสะกำ โอรสของท้าวกะหมังกุหนิงได้รูปบุษบาที่ช่างวาดของจรกาทำหาย  จึงให้บิดาไปสู่ขอ ท้าวดาหาปฏิเสธ ท้าวกะหมังกุหนิงจึงยกทัพมาตีดาหา <br />\n          ตอนที่ ๘ อิเหนาเข้าเฝ้าท้าวดาหาได้พบนางบุษบาก็หลงรักและเสียดายนาง   อิเหนาหาอุบายจะลักพาบุษบา<br />\n          ตอนที่ ๙ อิเหนาปลอมเป็นชาวเมืองกะหมังกุหนิงแอบไปลักพาบุษบาไปไว้ในถ้ำ<br />\n          ตอนที่ ๑๐อิเหนาปลอมเป็นชาวป่าชื่อปันหยีและปลอมวิยะดาเป็นเกนหลงหนึ่งหรัด ออกติดตามบุษบาทั่วเกาะชวาก็ไม่พบจึงไปบวชเป็นอายัน (ฤาษี)<br />\n          ตอนที่ ๑๑ ปะตาระกาหลาแปลงตัวให้เป็นชายชื่ออุณากรรณ ขออนุญาตบิดาบุญธรรมออกท่องเที่ยวหาสตรีที่พอใจ โดยเจตนาจะตามหาอิเหนา ระหว่างการเดินทางได้นางกุสุมาเป็นคู่หมั้นของสังคามาระตาเป็นมเหสี  <br />\n          ตอนที่ ๑๒ อุณากรรณยกทัพเมืองประมอตันไปพบปันหยี  ปันหยีสงสัยว่าอุณากรรณคือบุษบา จึงลาผนวชติดตามเข้าเมืองกาหลังด้วย ระหว่างนั้นกาหลังเกิดศึก ปันหยีและอุณากรรณช่วยรบจนชนะ <br />\n          ตอนที่ ๑๓ สังคามาระตาเชื่อว่าอุณากรรณคือบุษบา  และหลังรักนางกุสุมาคู่หมั้นของตนเอง  อุณากรรณลาปันหยีแล้วยกทัพออกจากเมือง และปลีกตัวจากกองทัพไปบวชชี (แอหนัง) พร้อมกับพี่เลี้ยง<br />\n          ตอนที่ ๑๔ สียะตราออกติดตามหาอิเหนา บุษบาและวิยะดา โดยปลอมเป็นชาวป่าชื่อย่าหรัน  <br />\n          ตอนที่ ๑๕ ระตูมะงาดาให้คนมาลักตัวปันหยีเพื่อจะได้สู่ขอนางสกาหนึ่งรัด ธิดาท้าวกาหลังไปให้อนุชาของตน แต่ลักผิดตัวได้ย่าหรันไปขังไว้ <br />\n          ตอนที่ ๑๖ สังคามาระตาทำอุบายเชิดหนังเป็นเรื่องราวระหว่างอิเหนากับบุษบาตั้งแต่ต้นแอหนังบุษบาเศร้าโศกมาก  อิเหนาจึงลักนางบุษบาไปอยู่ร่วมกันในเมืองกาหลัง <br />\n           ตอนที่ ๑๗ ตอนสุดท้ายสังคามาระตาไปช่วยท้าวประมอตันรบกับระตูล่าสำ และได้ระเด่นกุสุมาซึ่งไปกับกองทัพของอุณากรรณนั้น สียะตราลอบส่งข่าวไปถึงท้าวกุเรปันและท้าวดาหา กษัตริย์ทั้งสองเดินทางมาเมืองกาหลัง และจัดพิธีอภิเษกสมรสระเด่นที่หมั้นกันแล้วทุกคู่ รวมทั้งเชิญจินตะหรามาร่วมพิธีด้วย </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41694\" title=\"หน้าหลัก\"><img border=\"0\" width=\"193\" src=\"/files/u18980/2009-11-24_174343.png\" height=\"100\" style=\"width: 121px; height: 58px\" /></a>   <a href=\"/node/46580\" title=\"@_@\"><img border=\"0\" width=\"182\" src=\"/files/u18980/2009-11-24_174058.png\" height=\"94\" style=\"width: 124px; height: 56px\" /></a>\n</p>\n', created = 1715844905, expire = 1715931305, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0dfe3bff1112d7ca77a3352d0d324883' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทละครเรื่อง อิเหนา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒

อิเหนา

        อิเหนาเป็นนิทานอิงพงศาวดารของประเทศชวา เหตุที่เกิดนิทานเรื่องนี้ก็เนื่องมาจากพวกชาวชวานับถือกันว่า อิเหนาเป็นกษัตริย์ที่ทรงอานุภาพมาก ถึงกับนำไปเล่าสู่กันฟัง ต่อมาเมื่อเรื่องอิเหนาแพร่มาถึงมลายู พวกมลายูก็นำเอาเรื่องอิเหนามาเล่นเป็นละครแขก
หรือหนังแขก นิทานเรื่องอิเหนาจึง เป็นนิทานที่แพร่หลายที่สุด เรื่องอิเหนาในชวามีหลายสำนวน ต้นฉบับเก่าเป็นหนังสือชวา          ชื่อ"ปันหยี สะมิหลัง"  ในไทยเรียกนามปันหยีว่าเป็นนามปลอมของพระเอก คือ อิเหนา ซึ่งต้นฉบับในชวาไม่นิยมเรียกว่า อิเหนา        แต่จะเรียกว่า ปันหยี ตลอดเรื่อง   ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเรื่องอิเหนาแม้ในชวาเองแต่ละสำนวนมีเรื่องแตกต่างกันไป มีเค้าที่จะลงรอยกับอิเหนาฉบับไทย ก็แต่ในกระบวนการชื่อเมือง  ชื่อคนและวงศ์วานบ้างเท่านั้น

 

http://mblog.manager.co.th/uploads/165/images/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%20%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88.jpg

       นิทานอิเหนาเข้ามาเมืองไทยตามที่สันนิษฐานกันว่าคงจะเป็นหญิงเชลยแห่งปัตตานี ซึ่งเป็นข้าหลวงรับใช้เจ้าฟ้าหญิงกุณฑลและเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ พระราชธิดาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และคงได้เล่าเรื่องอิเหนาให้เจ้าหญิงทั้งสองฟัง เจ้าหญิงทั้งสองทรงเป็น     ผู้ฝึกหัดละครอยู่แล้ว คงจะได้นำเรื่องอิเหนามาแต่งเป็นบทละคร เกิดเป็นอิเหนาใหญ่(ดาหลัง)และอิเหนาเล็กขึ้น 
       หนังสืออิเหนาพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่๒ กล่าวอ้างไว้เป็นเพลงยาว สำหรับผู้แต่งเรื่องอิเหนานั้น สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ประธานอธิบายว่าด้วยบทละครอิเหนาฉบับหอสมุดวชิรญาณ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ สำหรับทำนิงแต่งเรื่องอิเหนานั้น แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนบทละคร คือ ขึ้นต้นด้วย เมื่อนั้น บัดนั้น บางบทมีคำบอกหน้าบทสำหรับร้อง    นอกจากนี้ยังบอกชื่อเพลงหน้าพากย์ไว้ท้ายบทด้วย สำหรับภาษาที่ใช้ในหนังสืออิเหนา มีภาษาชวาปน มีภาษาบาลีสันสกฤต ภาษามลายูและคำไทยโบราณด้วยเป็นประโยชน์สำหรับผู้ต้องการศึกษาภาษาที่เข้ามาปนภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
       บทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของพระบาทสมเด็จพระะพุทธเลิศหล้านภาลัย มีความดีเด่นครบทั้งองค์๕ของละคร คือ ตัวละครงาม   รำงาม ร้องไพเราะ พิณพากย์ไพเราะและกลอนไพเราะงดงาม   นอกจากนี้ยังให้ความรู้ในเรื่องโบราณราชประเพณีของไทย เช่น พิธีการ พระเมรุ พิธีสมโภชลูกหลวง พิธีโสกัณฑ์(โกนจุก)และพิธีรับแขกเมือง เป็นต้น

       ด้วยเหตุผลดังกล่าว วรรณคดีสโมสร ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๖ ได้ตัดสินเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๙ ให้บทละครเรื่องอิเหนาเป็น "ยอดของกลอนบทละคร"
 

เรื่องอิเหนาแบ่งเป็นตอน ๆ รวม ๑๗   ตอน คือ
          ตอนที่ ๑  อิเหนาโอรสของท้าวกุเรปันได้หมั้นหมายกับบุษบาธิดาของท้าวดาหา แต่ทั้งสององค์ไม่เคยพบกันเลย
          ตอนที่ ๒ อิเหนาไปช่วยงานพระศพพระอัยกีที่เมืองหมันหยา ได้พบจินตะหราและรักใคร่ชอบพอกัน  อิเหนาจึงทำอุบายไปเที่ยวป่าเพื่อหนีพิธีสยุมพร
          ตอนที่ ๓ อิเหนากลับมาจากหมันหยา วิยะดาประสูติ ท้าวดาหาขอหมั้นวิยะดาให้สียะตราน้องบุษบา
          ตอนที่ ๔ อิเหนาปลอมตัวเป็นชาวป่าชื่อมิสาระปันหยี ได้นางมาหยารัศมีและสการะวาตีเป็นบรรณาการ ได้สังคามาระตาเป็นน้อง
          ตอนที่ ๕ อิเหนาออกปากอนุญาตให้บุษบาเลือกชายอื่นอภิเษกได้ ท้าวดาหาจึงประกาศบุษบาให้ใครก็ได้ที่มาสู่ขอ
          ตอนที่ ๖ ระตูจรกาต้องการมีมเหสีที่รูปงาม  จึงให้ช่างไปวาดรูปหญิงสาวตามเมืองต่าง ๆ มาให้เลือก ช่างวาดรูปบุษบาได้ ๒ รูป  จรกาเห็นรูปบุษบาก็หลงรักและให้ท้าวล่าสำผู้เชษฐาไปสู่ขอ
          ตอนที่ ๗ วิหยาสะกำ โอรสของท้าวกะหมังกุหนิงได้รูปบุษบาที่ช่างวาดของจรกาทำหาย  จึงให้บิดาไปสู่ขอ ท้าวดาหาปฏิเสธ ท้าวกะหมังกุหนิงจึงยกทัพมาตีดาหา
          ตอนที่ ๘ อิเหนาเข้าเฝ้าท้าวดาหาได้พบนางบุษบาก็หลงรักและเสียดายนาง   อิเหนาหาอุบายจะลักพาบุษบา
          ตอนที่ ๙ อิเหนาปลอมเป็นชาวเมืองกะหมังกุหนิงแอบไปลักพาบุษบาไปไว้ในถ้ำ
          ตอนที่ ๑๐อิเหนาปลอมเป็นชาวป่าชื่อปันหยีและปลอมวิยะดาเป็นเกนหลงหนึ่งหรัด ออกติดตามบุษบาทั่วเกาะชวาก็ไม่พบจึงไปบวชเป็นอายัน (ฤาษี)
          ตอนที่ ๑๑ ปะตาระกาหลาแปลงตัวให้เป็นชายชื่ออุณากรรณ ขออนุญาตบิดาบุญธรรมออกท่องเที่ยวหาสตรีที่พอใจ โดยเจตนาจะตามหาอิเหนา ระหว่างการเดินทางได้นางกุสุมาเป็นคู่หมั้นของสังคามาระตาเป็นมเหสี 
          ตอนที่ ๑๒ อุณากรรณยกทัพเมืองประมอตันไปพบปันหยี  ปันหยีสงสัยว่าอุณากรรณคือบุษบา จึงลาผนวชติดตามเข้าเมืองกาหลังด้วย ระหว่างนั้นกาหลังเกิดศึก ปันหยีและอุณากรรณช่วยรบจนชนะ
          ตอนที่ ๑๓ สังคามาระตาเชื่อว่าอุณากรรณคือบุษบา  และหลังรักนางกุสุมาคู่หมั้นของตนเอง  อุณากรรณลาปันหยีแล้วยกทัพออกจากเมือง และปลีกตัวจากกองทัพไปบวชชี (แอหนัง) พร้อมกับพี่เลี้ยง
          ตอนที่ ๑๔ สียะตราออกติดตามหาอิเหนา บุษบาและวิยะดา โดยปลอมเป็นชาวป่าชื่อย่าหรัน 
          ตอนที่ ๑๕ ระตูมะงาดาให้คนมาลักตัวปันหยีเพื่อจะได้สู่ขอนางสกาหนึ่งรัด ธิดาท้าวกาหลังไปให้อนุชาของตน แต่ลักผิดตัวได้ย่าหรันไปขังไว้
          ตอนที่ ๑๖ สังคามาระตาทำอุบายเชิดหนังเป็นเรื่องราวระหว่างอิเหนากับบุษบาตั้งแต่ต้นแอหนังบุษบาเศร้าโศกมาก  อิเหนาจึงลักนางบุษบาไปอยู่ร่วมกันในเมืองกาหลัง
           ตอนที่ ๑๗ ตอนสุดท้ายสังคามาระตาไปช่วยท้าวประมอตันรบกับระตูล่าสำ และได้ระเด่นกุสุมาซึ่งไปกับกองทัพของอุณากรรณนั้น สียะตราลอบส่งข่าวไปถึงท้าวกุเรปันและท้าวดาหา กษัตริย์ทั้งสองเดินทางมาเมืองกาหลัง และจัดพิธีอภิเษกสมรสระเด่นที่หมั้นกันแล้วทุกคู่ รวมทั้งเชิญจินตะหรามาร่วมพิธีด้วย

 

 

  

สร้างโดย: 
นส.อารียาและอ.เกวลิน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์