• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:868fecae105ffaf80a41f30c5d39801f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><u>บทสรุป</u> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"272\" src=\"/files/u19260/su12.jpg\" height=\"239\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #008000\"> ปรากฏการณ์ที่สำคัญในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ คือการชุมนุมของกลุ่มผู้เรียกร้องประชาธิปไตยประกอบด้วยชนชั้นกลางเป็นจำนวนมาก ซึ่งแตกต่างจากกรณี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ทั้งนี้เนื่องจากสองทศวรรษที่ผ่านมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">        เศรษฐกิจและสังคมไทยได้พัฒนาไปมาก ทำให้ชนชั้นกลางที่เริ่มส่อเค้ามาตั้งแต่ปี ๒๕๑๖ เห็นเด่นชัดขึ้นผู้ร่วมชุมชุมหลายคนมีโทรศัพท์มือถือ ขับรถเก๋งส่วนตัวไปร่วมชุมนุมและมีเป็นจำนวนมากที่มีกิจการเป็นของตนเอง<br />\nจากการสำรวจของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยใช้ผลสำรวจ ๒,๐๐๐ จุดพบข้อมูลที่น่าสนใจคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">อายุของผู้ชุมนุม<br />\n๒๐-๒๙ ปี ๓๙.๔ %<br />\n๓๐-๓๙ ปี ๓๖.๕%<br />\n๔๐-๔๙ ปี ๑๔.๒%<br />\n๕๐ ปีขึ้นไป ๖.๗% </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">อาชีพของผู้ชุมชุม<br />\nเจ้าของกิจการ ๑๓.๗%<br />\nเอกชน ๔๕.๗%<br />\nราชการ ๑๔.๘%<br />\nรัฐวิสาหกิจ ๖.๒% </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">รายได้ของผู้ชุมนุม<br />\nรายได้ต่ำกว่า ๕,๐๐๐ บาท ๑๔.๑%<br />\n๕,๐๐๐-๙,๙๐๐ บาท ๒๘.๕%<br />\n๑๐,๐๐๐-๑๙,๙๙๙ บาท ๓๐%<br />\n๒๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท ๑๕.๕%<br />\nสูงกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท ๖.๒% </span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"color: #008000\">        จะเห็นได้ว่าจากข้อมูลดังกล่าว ผู้ร่วมชุมชุมเป็นชนชั้นกลางของสังคมมีจำนวนมาก ระดับและจำนวนของชนชั้นกลางแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะในแง่อายุ อาชีพ และรายได้ กล่าวได้ว่าเป็นความแตกต่างในแง่คุณภาพ ไม่ใช่เพียงปริมาณ อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงที่ว่าการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยประสพความสำเร็จ โดยที่ฝ่ายรัฐบาลซึ่งแม้จะมีกำลังทหารหนุนหลัง ก็ไม่สามารถปราบปรามประชาชนได้นั้นไม่ได้เกิดจากสภาพการขยายตัวของชนชั้นกลางเพียงอย่างเดียว หากเกิดจากตัวแปราต่างๆ หลายอย่างด้วยกันคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๑.แนวโน้มของโลกปัจจุบันคือการมีระบบการเมืองแบบเปิด และเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ กระแสแห่งประชาธิปไตยดังกล่าวแผ่กระจายไปทั่วโลก แม้กระทั่งสหภาพโซเวียตก็หนีไม่พ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๒.ความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนมีมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การศึกษา สื่อมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๓.เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ และ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เป็นประวัติศาสตร์ที่คอยกระตุ้นเตือน ความทรงจำถึงการต่อสู้และการเสียสละ วิญญาณเสรีชนดังกล่าวมีการสืบทอดมาโดยความทรงจำ การศึกษาและการปลุกเร้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๔.เศรษฐกิจไทยไม่ใช่เศรษฐกิจการเกษตรเป็นหลักอีกต่อไป แต่เป็นเศรษฐกิจผสมมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและกายภาพ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและการเมืองมีสูง การใช้อำนาจเผด็จการแบบสังคมเกษตรจึงไร้ผล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๕.เทคโนโลยีการสื่อสารทำให้ปฏิบัติการของผู้อยู่ในอำนาจล้าสมัย การส่งโทรสาร การับข่าวสารจากต่างประเทศล้วนแต่ทำให้การปิดข่าวสารและการบิดเบือนเป็นไปได้ยาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๖.การต่อต้านนายกรัฐมนตรีเกิดจากการที่นายกรัฐมนตรีผิดคำสัญญาที่ให้ไว้แก่ประชาชนตอนที่เรียกร้องให้มีการแก้รัฐธรรมนูญ ว่าจะไม่รับตำแหน่งทางการเมือง แต่ก็มาเสียคำพูดเท่ากับเป็นการหลอกลวงประชาชน นอกจากนั้นท่าทีแข็งกร้าวและเชื่อมั่นในอำนาจเท่ากับเป้ฯการยั่วยุยิ่งขึ้น นอกจากนั้นนายกรัฐมนตรียังเป็นสัญลักษณ์ของเผด็จการทหารและการสืบทอดอำนาจ ทำให้เกิดความเคืองแค้นให้หมู่ประชาชน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๗.การประเมินพลังประชาชนต่ำและเข้าใจว่าเป็นมวลชนจัดตั้งของฝ่ายตรงข้ามเพียงอย่างเดียว บนฐานของการประเมินดังกล่าว จึงคาดว่าถ้ามีการกวาดล้างด้วยกำลังประชาชนผู้ประท้วงจะแตกกระเจิงเพราะความรักตัวกลัวตาย แต่การณ์กลับตรงกันข้าม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๘.วิกฤติแห่งความน่าเชื่อถือ การตระบัดสัตย์โดยอ้างว่า &quot;เสียสัตย์เพื่อชาติ&quot; ทำให้คำพูดทุกคำพูดของท่านนายกรัฐมนตรี ของรัฐบาล สื่อมวลชนของรัฐ ขาดความน่าเชื่อถือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">๙.ความเชื่อแบบเก่าที่ว่าอำนาจบริสุทธิ์สามารถสยบได้ทุกอย่างเป็นความเชื่อที่ล้าสมัย ไม่ทันเหตุการณ์โลกเป็นวุฒิภาวะของคนรุ่นเก่าที่ไม่ได้ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลก ทำให้มองภาพผิด ตีความข้อมูลผิด รับฟังแต่ข้อมูลของผู้สอพลอ จึงนำไปสู่ปัญหาวิกฤต ผลสุดท้ายคือการทำลายตนเอง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/47630\"><img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u19260/holiday31_0.gif\" height=\"78\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1727563149, expire = 1727649549, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:868fecae105ffaf80a41f30c5d39801f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8d56a61b19f7010b2a61b132e368d316' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><u>บทสรุป</u> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"272\" src=\"/files/u19260/su12.jpg\" height=\"239\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #008000\"> ปรากฏการณ์ที่สำคัญในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ คือการชุมนุมของกลุ่มผู้เรียกร้องประชาธิปไตยประกอบด้วยชนชั้นกลางเป็นจำนวนมาก ซึ่งแตกต่างจากกรณี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ทั้งนี้เนื่องจากสองทศวรรษที่ผ่านมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">        เศรษฐกิจและสังคมไทยได้พัฒนาไปมาก ทำให้ชนชั้นกลางที่เริ่มส่อเค้ามาตั้งแต่ปี ๒๕๑๖ เห็นเด่นชัดขึ้นผู้ร่วมชุมชุมหลายคนมีโทรศัพท์มือถือ ขับรถเก๋งส่วนตัวไปร่วมชุมนุมและมีเป็นจำนวนมากที่มีกิจการเป็นของตนเอง<br />\nจากการสำรวจของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยใช้ผลสำรวจ ๒,๐๐๐ จุดพบข้อมูลที่น่าสนใจคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">อายุของผู้ชุมนุม<br />\n๒๐-๒๙ ปี ๓๙.๔ %<br />\n๓๐-๓๙ ปี ๓๖.๕%<br />\n๔๐-๔๙ ปี ๑๔.๒%<br />\n๕๐ ปีขึ้นไป ๖.๗% </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">อาชีพของผู้ชุมชุม<br />\nเจ้าของกิจการ ๑๓.๗%<br />\nเอกชน ๔๕.๗%<br />\nราชการ ๑๔.๘%<br />\nรัฐวิสาหกิจ ๖.๒% </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">รายได้ของผู้ชุมนุม<br />\nรายได้ต่ำกว่า ๕,๐๐๐ บาท ๑๔.๑%<br />\n๕,๐๐๐-๙,๙๐๐ บาท ๒๘.๕%<br />\n๑๐,๐๐๐-๑๙,๙๙๙ บาท ๓๐%<br />\n๒๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท ๑๕.๕%<br />\nสูงกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท ๖.๒% </span>\n</p>\n<p></p>', created = 1727563149, expire = 1727649549, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8d56a61b19f7010b2a61b132e368d316' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พฤษภาทมิฬ(บทสรุป)

บทสรุป

 


        ปรากฏการณ์ที่สำคัญในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ คือการชุมนุมของกลุ่มผู้เรียกร้องประชาธิปไตยประกอบด้วยชนชั้นกลางเป็นจำนวนมาก ซึ่งแตกต่างจากกรณี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ทั้งนี้เนื่องจากสองทศวรรษที่ผ่านมา

        เศรษฐกิจและสังคมไทยได้พัฒนาไปมาก ทำให้ชนชั้นกลางที่เริ่มส่อเค้ามาตั้งแต่ปี ๒๕๑๖ เห็นเด่นชัดขึ้นผู้ร่วมชุมชุมหลายคนมีโทรศัพท์มือถือ ขับรถเก๋งส่วนตัวไปร่วมชุมนุมและมีเป็นจำนวนมากที่มีกิจการเป็นของตนเอง
จากการสำรวจของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยใช้ผลสำรวจ ๒,๐๐๐ จุดพบข้อมูลที่น่าสนใจคือ

อายุของผู้ชุมนุม
๒๐-๒๙ ปี ๓๙.๔ %
๓๐-๓๙ ปี ๓๖.๕%
๔๐-๔๙ ปี ๑๔.๒%
๕๐ ปีขึ้นไป ๖.๗%

อาชีพของผู้ชุมชุม
เจ้าของกิจการ ๑๓.๗%
เอกชน ๔๕.๗%
ราชการ ๑๔.๘%
รัฐวิสาหกิจ ๖.๒%

รายได้ของผู้ชุมนุม
รายได้ต่ำกว่า ๕,๐๐๐ บาท ๑๔.๑%
๕,๐๐๐-๙,๙๐๐ บาท ๒๘.๕%
๑๐,๐๐๐-๑๙,๙๙๙ บาท ๓๐%
๒๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท ๑๕.๕%
สูงกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท ๖.๒%

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข เเละนางสาวอรุณี เริงธรรม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์