• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:babf2bfdd0ebcb925cb43e07ece36086' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table class=\"contentpaneopen\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"100%\" class=\"contentheading\">สงครามเย็น – การเกิดและการดับของสงครามเย็น ตอนที่ 1 </td>\n<td width=\"100%\" align=\"right\" class=\"buttonheading\"><a href=\"javascript:void window.open(\'http://tortaharn.net/contents/index2.php?option=com_content&amp;do_pdf=1&amp;id=129\', \'win2\', \'status=no,toolbar=no,scrollbars=yes,titlebar=no,menubar=no,resizable=yes,width=640,height=480,directories=no,location=no\');\" title=\"PDF\"><img name=\"image\" border=\"0\" align=\"middle\" src=\"http://tortaharn.net/contents/images/M_images/pdf_button.png\" alt=\"PDF\" /><span style=\"color: #4d9314\"> </span></a></td>\n<td width=\"100%\" align=\"right\" class=\"buttonheading\"><a href=\"javascript:void window.open(\'http://tortaharn.net/contents/index2.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=129&amp;Itemid=76&amp;pop=1&amp;page=0\', \'win2\', \'status=no,toolbar=no,scrollbars=yes,titlebar=no,menubar=no,resizable=yes,width=640,height=480,directories=no,location=no\');\" title=\"พิมพ์\"><span style=\"color: #4d9314\"><img name=\"image\" border=\"0\" align=\"middle\" src=\"http://tortaharn.net/contents/images/M_images/printButton.png\" alt=\"พิมพ์\" /> </span></a></td>\n<td width=\"100%\" align=\"right\" class=\"buttonheading\"><a href=\"javascript:void window.open(\'http://tortaharn.net/contents/index2.php?option=com_content&amp;task=emailform&amp;id=129\', \'win2\', \'status=no,toolbar=no,scrollbars=yes,titlebar=no,menubar=no,resizable=yes,width=400,height=250,directories=no,location=no\');\" title=\"ส่งเมล\"><span style=\"color: #4d9314\"><img name=\"image\" border=\"0\" align=\"middle\" src=\"http://tortaharn.net/contents/images/M_images/emailButton.png\" alt=\"ส่งเมล\" /> </span></a></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<table class=\"contentpaneopen\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"70%\" align=\"left\" vAlign=\"top\"><span class=\"small\"><span style=\"font-size: x-small\">แก้ไขโดย ทอทหาร </span></span>   </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" vAlign=\"top\" class=\"createdate\">วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2550 </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" vAlign=\"top\">\n<div align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"http://www.tortaharn.net/contents/images/stories//coldwar1.jpg\" />\n </div>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>            เป็นที่ทราบกันดีว่าหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง การเผชิญหน้ากันระหว่างฝ่ายพันธมิตรกับฝ่ายอักษะได้แปรเปลี่ยนไปเป็นการเผชิญหน้ากันระหว่างอุดมการณ์ทางการเมือง 2 ค่ายคือ ประชาธิปไตยกับคอมมิวนิสต์ และการเผชิญหน้านี้เองจะถูกเรียกว่า “สงครามเย็น (Cold War)” ถึงแม้ปัจจุบันสภาวะของสงครามเย็นได้ยุติลงด้วยความสูญเสียในระดับที่น้อยกว่าการสูญเสียในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมีการสูญเสียชีวิตถึง 72 ล้านคน (รวมทั้งพลเรือนและทหารแยกฝ่ายสัมพันธมิตรสูญเสีย 61 ล้านคน และฝ่ายอักษะสูญเสีย 11ล้านคน) ในขณะที่สงครามเย็นมีการสูญเสียชีวิตคนไปหลายล้านคน (สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม สงครามสหภาพโซเวียต-อัฟกานิสสถาน ฯลฯ รวมแล้วก็หลายล้านคนแต่ไม่ถึง 72 ล้านคน) แต่การสูญเสียในสงครามเย็นก็สามารถกล่วได้ว่ามีการสูญเสียในระดับที่สูงคือระดับที่เป็นหลักล้านชิวิตเหมือนกัน </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n            ในช่วงสงครามเย็นนั้นไม่เพียงแต่จะมีการสูญเสียชีวิตไปในระดับที่เป็นหลักหลายล้านคนแล้ว สิ่งที่จะนำไปสู่ความหายนะของมวลมนุษย์ชาติ ด้วยความเสี่ยงที่เกือบจะเกิดการโจมตีจากแต่ละฝ่ายด้วยอาวุธนิวเคลียร์หลายครั้ง ดังเช่น กรณีวิกฤตการขีปนาวุธคิวบาในห้วง 14 – 28 ต.ค.2505 (Cuban Missile Crisis) หรือกรณีของเรือดำน้ำ B-59 ชั้น Foxtrot ของสหภาพโซเวียต ที่เกือบจะทำการยิงขีปนาวุธติดหัวรบนิวเคลียร์เนื่องจากเข้าใจว่าเกิดสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐฯในวันที่ 27 ต.ค.2505 ในห้วงเวลาเดียวกันกับวิกฤตการขีปนาวุธคิวบา ซึ่งก็นับว่าเป็นความโชคดีของมวลมนุษย์ชาติที่ยังคงสามารถดำรงเผ่าพันธุ์เอาไว้ได้ เพราะความเสี่ยงที่เกิดจากกระบวนการตัดสินใจกดปุ่มปล่อยอาวุธของคนเพียงไม่กี่คนเท่านั้น\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"right\">\n <a href=\"/node/41831\"><img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u19259/home_0.gif\" height=\"70\" /></a><a href=\"/node/47449\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19259/reply-00000047176_5.gif\" height=\"46\" /></a>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1728260435, expire = 1728346835, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:babf2bfdd0ebcb925cb43e07ece36086' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สงครามเย็น

สงครามเย็น – การเกิดและการดับของสงครามเย็น ตอนที่ 1 PDF พิมพ์ ส่งเมล
แก้ไขโดย ทอทหาร     
วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2550

 

           เป็นที่ทราบกันดีว่าหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง การเผชิญหน้ากันระหว่างฝ่ายพันธมิตรกับฝ่ายอักษะได้แปรเปลี่ยนไปเป็นการเผชิญหน้ากันระหว่างอุดมการณ์ทางการเมือง 2 ค่ายคือ ประชาธิปไตยกับคอมมิวนิสต์ และการเผชิญหน้านี้เองจะถูกเรียกว่า “สงครามเย็น (Cold War)” ถึงแม้ปัจจุบันสภาวะของสงครามเย็นได้ยุติลงด้วยความสูญเสียในระดับที่น้อยกว่าการสูญเสียในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมีการสูญเสียชีวิตถึง 72 ล้านคน (รวมทั้งพลเรือนและทหารแยกฝ่ายสัมพันธมิตรสูญเสีย 61 ล้านคน และฝ่ายอักษะสูญเสีย 11ล้านคน) ในขณะที่สงครามเย็นมีการสูญเสียชีวิตคนไปหลายล้านคน (สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม สงครามสหภาพโซเวียต-อัฟกานิสสถาน ฯลฯ รวมแล้วก็หลายล้านคนแต่ไม่ถึง 72 ล้านคน) แต่การสูญเสียในสงครามเย็นก็สามารถกล่วได้ว่ามีการสูญเสียในระดับที่สูงคือระดับที่เป็นหลักล้านชิวิตเหมือนกัน

 

           ในช่วงสงครามเย็นนั้นไม่เพียงแต่จะมีการสูญเสียชีวิตไปในระดับที่เป็นหลักหลายล้านคนแล้ว สิ่งที่จะนำไปสู่ความหายนะของมวลมนุษย์ชาติ ด้วยความเสี่ยงที่เกือบจะเกิดการโจมตีจากแต่ละฝ่ายด้วยอาวุธนิวเคลียร์หลายครั้ง ดังเช่น กรณีวิกฤตการขีปนาวุธคิวบาในห้วง 14 – 28 ต.ค.2505 (Cuban Missile Crisis) หรือกรณีของเรือดำน้ำ B-59 ชั้น Foxtrot ของสหภาพโซเวียต ที่เกือบจะทำการยิงขีปนาวุธติดหัวรบนิวเคลียร์เนื่องจากเข้าใจว่าเกิดสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐฯในวันที่ 27 ต.ค.2505 ในห้วงเวลาเดียวกันกับวิกฤตการขีปนาวุธคิวบา ซึ่งก็นับว่าเป็นความโชคดีของมวลมนุษย์ชาติที่ยังคงสามารถดำรงเผ่าพันธุ์เอาไว้ได้ เพราะความเสี่ยงที่เกิดจากกระบวนการตัดสินใจกดปุ่มปล่อยอาวุธของคนเพียงไม่กี่คนเท่านั้น

 

สร้างโดย: 
นางสาววิภาดา จตุพรมงคลชัย เเละครูปาลิดา สวนชัง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 415 คน กำลังออนไลน์