• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:551c6b05a0c59f1dc80718a70eed673d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n    \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n     <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />  <strong><span style=\"background-color: #59f7bb; color: #a53408\">แผนการความไม่ไว้วางใจและการประกาศระดมพล</span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/mapp.jpg\" height=\"285\" width=\"361\" /></strong>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><strong>แผนการชลีฟเฟ็น แผนการรุกรานฝรั่งเศสของเยอรมนี</strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/f/fe/Schlieffen_Plan.jpg/774px-Schlieffen_Plan.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/f/fe/Schlieffen_Plan.jpg/<span lang=\"TH\">774</span>px-Schlieffen_Plan.jpg</a></span>\n</p>\n<p style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">            แนวคิดดังกล่าวถูกเสนอโดยนักปกครองจำนวนมาก   ว่า แผนการระดมพลของเยอรมนี ฝรั่งเศสและรัสเซียนั้นได้ทำให้ความขัดแย้งขยายไปกว้างขึ้น   ฟริทซ์   ฟิสเชอร์ ได้กล่าวถึงความรุนแรงโดยเนื้อหาของ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แผนการชลีฟเฟ็น</span>  ซึ่งได้แบ่งเอากองทัพเยอรมันต้องทำการรบทั้งสองด้าน   การทำศึกทั้งสองด้านหมายความว่ากองทัพเยอรมันจำเป็นที่จะต้องรบให้ชนะศัตรูจากทางด้านหนึ่งอย่างรวดเร็วก่อนที่จะทำการรบกับศัตรูที่เหลือได้ แผนการดังกล่าวเรียกว่าเป็น &quot;<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อุบายการตีกระหนาบ</span>&quot;เพื่อที่จะทำลายเบลเยี่ยมและทำให้กองทัพฝรั่งเศสกลายเป็นอัมพาต  โดยการโจมตีอย่างรวดเร็ว   ก่อนที่ฝรั่งเศสจะพร้อมระดมพล หลังจากได้ชัยชนะแล้ว กองทัพเยอรมันจะเคลื่อนไปยังทิศตะวันออกโดยทางรถไฟและทำลายกองทัพรัสเซียซึ่งระดมพลได้อย่างเชื่องช้า</span></o:p></span></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> </span></o:p></span></span> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></o:p></span></span></p>\n<p style=\"line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แผนการที่สิบเจ็ด</span>ของฝรั่งเศสมีจุดประสงค์ที่จะส่งกองทัพของตนเข้าเป็นยึดครอง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">หุบเขารูร์</span>อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมของเยอรมนี  ซึ่งทางทฤษฏีแล้วจะเป็นการทำให้เยอรมนีหมดสภาพที่จะทำสงครามสมัยใหม่ต่อไป<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">ส่วนแผนการที่สิบเก้า  ของจักรวรรดิรัสเซีย   มีเป้าหมายที่จะมองการณ์ไกล และ  ระดมกองทัพของตน  เพื่อต่อต้านทั้งจักรรวรดิออสเตรีย - ฮังการี และ จักรรวรดิเยอรมนี</span></span>\n</p>\n<p style=\"line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">แผนการของทั้งสามประเทศได้ก่อให้เกิดบรรยากาศซึ่งต้องทำให้ได้มาซึ่งชัยชนะอย่างรวดเร็วเพื่อที่จะสามารถกุมชัยชนะได้ ทุกฝ่ายต่างมีตารางเวลาซึ่งถูกคำนวณอย่างละเอียดลออ เมื่อมีการระดมพลเกิดขึ้น โอกาสที่จะถอยหลังก็หมดสิ้นไปแล้ว ความล่าช้าทางการทูตและการคมนาคมขนส่งที่เลวส่งผลทำให้แผนการเหล่านี้ประสบความติดขัดหรือหยุดชะงัก และเหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ แผนการของทั้งสามประเทศนี้เป็นปฏิบัติการเชิงรุก ซึ่งทำให้ต้องมีการพัฒนาความสามารถในการป้องกันและการขุดสนามเพลาะเพื่อการป้องกันประเทศ</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"line-height: normal; text-indent: 36pt; margin: 0cm 0cm 10pt; background: #f8fcff\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><strong>          <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />   <span style=\"background-color: #ff9900; color: #a917e7\">ลัทธินิยมทหารและเอกาธิปไตย</span></strong></span></span></h3>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><strong></strong></span></span></h3>\n<p>              ประธานาธิบดี  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">วูดโรว์   วิลสัน</span>แห่งสหรัฐอเมริกาและคนอื่น ๆ  ได้มีความเห็นว่า  สงครามโลกครั้งที่  1 อาจเกิดจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ลัทธินิยมทหาร</span>   บางคนอาจโต้เถียงว่าเป็นเพราะการปกครองแบบ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อภิชนาธิปไตย</span> และสำหรับพวกนายทหารชั้นสูงในกองทัพมีอำนาจมากมายดังเช่นในประเทศอย่างเยอรมนี  รัสเซีย และ ออสเตรีย - ฮังการี  ผู้ซึ่งเห็นว่าสงครามเป็นโอกาสทองที่พวกเขาจะสามารถได้รับตอบสนองความต้องการ  เพื่ออำนาจทางการทหาร และ ดูถูกการปกครองแบบ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ประชาธิปไตย</span>   โดยเหตุ-การณ์ดังกล่าวนั้น   เกิดขึ้นอย่างโดดเด่นในโฆษณา<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ต่อต้านเยอรมนี</span>   เนื่องจากว่าผู้สนับสนุนแนวคิดดังกล่าวได้เรียกร้องให้มีการสละราชสมบัติของผูนำประเทศ  อย่างเช่น  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี</span> รวมไปถึงการกำจัดพวกชนชั้นสูง  ซึ่งมีส่วนร่วมในการปกครองของยุโรปมาหลายศตวรรษ   รวมไปถึงลัทธินิยมทหารด้วย   เวทีนี้ได้ให้เหตุผลอันสมควรแก่สหรัฐอเมริกาที่เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1  เมื่อจักรวรรดิรัสเซียยอมจำนนเมื่อปี 1917 <span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></o:p></span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></o:p></span></p>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              ฝ่ายพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส มีการปกครองระบบประชาธิปไตย ได้ต่อสู้กับฝ่ายมหาอำนาจกลางซึ่งประกอบด้วย  เยอรมนี  ออสเตรีย - ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมาน  รวมไปถึงรัสเซีย พันธมิตรของอังกฤษและฝรั้งเศสเอง  ยังคงมีการปกครองระบบจักรวรรดิจนกระทั่งถึงปี 1917 - 1918   แต่ก็ตรงกันข้ามกับการปราบปราม<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%9F&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เชื้อชาติสลาฟ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เชื้อชาติสลาฟ</span></a>ของจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี โดยหลังฉากนี้ มุมมองของสงครามของหนึ่งในกลุ่มประชาธิปไตยกับการปกครองแบบเผด็จการมาตั้งแต่ก่อนสงครามนั้น   ดูสมเหตุสมผล และ มีน้ำหนักพอสมควร แต่มุมมองเหล่านั้นได้สูญเสียความน่าเชื่อถือไปเรื่อย ๆ ขณะที่ความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              วิลสันนั้นหวังว่า <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สันนิบาตชาติ</span> และ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การปลดอาวุธ</span>นั้นจะช่วยให้สามารถธำรงสันติภาพให้คงอยู่กาลนาน โดยยืมแนวคิดมาจาก <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เอช.อี.เวลส์</span> เขาได้อธิบายเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งว่าเป็น &quot;สงครามเพื่อที่จะยุติสงครามทั้งมวล&quot; เขายังหวังที่จะเข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรของอังกฤษและฝร่งเศสตั้งแต่ต้นจนจบ แม้ว่าทั้งสองประเทศจะมีลัทธินิยมทหารอยู่บ้าง</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span></p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><strong>        <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" />   <span style=\"background-color: #366ec8; color: #e2ef0f\"><span style=\"color: #ffffff\">เศรษฐกิจลัทธิจักรวรรดินิยม</span></span></strong></span></span></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"background-color: #366ec8; color: #e2ef0f\"></span></strong></span></span></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"background-color: #366ec8; color: #e2ef0f\"></span></strong></span></span></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/lanin.jpg\" height=\"308\" width=\"227\" />  \n<p>\n<a href=\"http://www.bangkokbookclub.com/shop/b/bangkokbookclub/img-lib/spd_20050323192903_b.jpg\">http://www.bangkokbookclub.com/shop/b/bangkokbookclub/img-lib/spd_20050323192903_b.jpg</a>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p></span></span></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm; background: #f8fcff\"><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">   </span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">            <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99\" title=\"วลาดีมีร์ เลนิน\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">วลาดีมีร์ เลนิน</span></a>ได้ยืนยันว่าสาเหตุของสงครามนั้นตั้งอยู่บน<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1\" title=\"จักรวรรดินิยม\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">จักรวรรดินิยม</span></a> เขาได้กล่าวพรรณาถึงแนวคิดทางเศรษฐ-ศาสตร์ของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5_%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%8B\" title=\"คาร์ล มาร์กซ\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">คาร์ล มาร์กซ</span></a> และนักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ จอห์น เอ. ฮอบสัน ซึ่งได้ทำนายว่าการแข่งขันอย่างไม่สิ้นสุดเพื่อการขยายตลาดการค้านั้นจะนำไปสู่ความขัดแย้งในระดับโลก   โดยเหตุผลดังกล่าวนั้นมีผู้เชื่อถือเป็นจำนวนมากและได้สนับ -สนุนการเจริญเติบโตของลัทธิ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C\" title=\"คอมมิวนิสต์\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">คอมมิวนิสต์</span></a> เลนินยังได้กล่าวว่าความสนใจในการเงินของมหาอำนาจลัทธิ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1\" title=\"ทุนนิยม\"><span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ทุนนิยม</span></a>-จักรวรรดินิยมจำนวนมากได้ก่อให้เกิดสงคราม</span> \n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">  </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n   <a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>     <a href=\"/node/47192\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></o:p></span></o:p></span></h3>\n<p></p>\n<h3></h3>\n<p></p>\n', created = 1720455063, expire = 1720541463, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:551c6b05a0c59f1dc80718a70eed673d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.~. เบื้องหลัง .~.

    

       แผนการความไม่ไว้วางใจและการประกาศระดมพล

 

แผนการชลีฟเฟ็น แผนการรุกรานฝรั่งเศสของเยอรมนี

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/f/fe/Schlieffen_Plan.jpg/774px-Schlieffen_Plan.jpg

                แนวคิดดังกล่าวถูกเสนอโดยนักปกครองจำนวนมาก   ว่า แผนการระดมพลของเยอรมนี ฝรั่งเศสและรัสเซียนั้นได้ทำให้ความขัดแย้งขยายไปกว้างขึ้น   ฟริทซ์   ฟิสเชอร์ ได้กล่าวถึงความรุนแรงโดยเนื้อหาของแผนการชลีฟเฟ็น  ซึ่งได้แบ่งเอากองทัพเยอรมันต้องทำการรบทั้งสองด้าน   การทำศึกทั้งสองด้านหมายความว่ากองทัพเยอรมันจำเป็นที่จะต้องรบให้ชนะศัตรูจากทางด้านหนึ่งอย่างรวดเร็วก่อนที่จะทำการรบกับศัตรูที่เหลือได้ แผนการดังกล่าวเรียกว่าเป็น "อุบายการตีกระหนาบ"เพื่อที่จะทำลายเบลเยี่ยมและทำให้กองทัพฝรั่งเศสกลายเป็นอัมพาต  โดยการโจมตีอย่างรวดเร็ว   ก่อนที่ฝรั่งเศสจะพร้อมระดมพล หลังจากได้ชัยชนะแล้ว กองทัพเยอรมันจะเคลื่อนไปยังทิศตะวันออกโดยทางรถไฟและทำลายกองทัพรัสเซียซึ่งระดมพลได้อย่างเชื่องช้า  

แผนการที่สิบเจ็ดของฝรั่งเศสมีจุดประสงค์ที่จะส่งกองทัพของตนเข้าเป็นยึดครองหุบเขารูร์อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมของเยอรมนี  ซึ่งทางทฤษฏีแล้วจะเป็นการทำให้เยอรมนีหมดสภาพที่จะทำสงครามสมัยใหม่ต่อไปส่วนแผนการที่สิบเก้า  ของจักรวรรดิรัสเซีย   มีเป้าหมายที่จะมองการณ์ไกล และ  ระดมกองทัพของตน  เพื่อต่อต้านทั้งจักรรวรดิออสเตรีย - ฮังการี และ จักรรวรดิเยอรมนี

 แผนการของทั้งสามประเทศได้ก่อให้เกิดบรรยากาศซึ่งต้องทำให้ได้มาซึ่งชัยชนะอย่างรวดเร็วเพื่อที่จะสามารถกุมชัยชนะได้ ทุกฝ่ายต่างมีตารางเวลาซึ่งถูกคำนวณอย่างละเอียดลออ เมื่อมีการระดมพลเกิดขึ้น โอกาสที่จะถอยหลังก็หมดสิ้นไปแล้ว ความล่าช้าทางการทูตและการคมนาคมขนส่งที่เลวส่งผลทำให้แผนการเหล่านี้ประสบความติดขัดหรือหยุดชะงัก และเหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ แผนการของทั้งสามประเทศนี้เป็นปฏิบัติการเชิงรุก ซึ่งทำให้ต้องมีการพัฒนาความสามารถในการป้องกันและการขุดสนามเพลาะเพื่อการป้องกันประเทศ

 

             ลัทธินิยมทหารและเอกาธิปไตย

 

              ประธานาธิบดี  วูดโรว์   วิลสันแห่งสหรัฐอเมริกาและคนอื่น ๆ  ได้มีความเห็นว่า  สงครามโลกครั้งที่  1 อาจเกิดจากลัทธินิยมทหาร   บางคนอาจโต้เถียงว่าเป็นเพราะการปกครองแบบอภิชนาธิปไตย และสำหรับพวกนายทหารชั้นสูงในกองทัพมีอำนาจมากมายดังเช่นในประเทศอย่างเยอรมนี  รัสเซีย และ ออสเตรีย - ฮังการี  ผู้ซึ่งเห็นว่าสงครามเป็นโอกาสทองที่พวกเขาจะสามารถได้รับตอบสนองความต้องการ  เพื่ออำนาจทางการทหาร และ ดูถูกการปกครองแบบประชาธิปไตย   โดยเหตุ-การณ์ดังกล่าวนั้น   เกิดขึ้นอย่างโดดเด่นในโฆษณาต่อต้านเยอรมนี   เนื่องจากว่าผู้สนับสนุนแนวคิดดังกล่าวได้เรียกร้องให้มีการสละราชสมบัติของผูนำประเทศ  อย่างเช่น  สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี รวมไปถึงการกำจัดพวกชนชั้นสูง  ซึ่งมีส่วนร่วมในการปกครองของยุโรปมาหลายศตวรรษ   รวมไปถึงลัทธินิยมทหารด้วย   เวทีนี้ได้ให้เหตุผลอันสมควรแก่สหรัฐอเมริกาที่เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1  เมื่อจักรวรรดิรัสเซียยอมจำนนเมื่อปี 1917

              ฝ่ายพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส มีการปกครองระบบประชาธิปไตย ได้ต่อสู้กับฝ่ายมหาอำนาจกลางซึ่งประกอบด้วย  เยอรมนี  ออสเตรีย - ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมาน  รวมไปถึงรัสเซีย พันธมิตรของอังกฤษและฝรั้งเศสเอง  ยังคงมีการปกครองระบบจักรวรรดิจนกระทั่งถึงปี 1917 - 1918   แต่ก็ตรงกันข้ามกับการปราบปรามเชื้อชาติสลาฟของจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี โดยหลังฉากนี้ มุมมองของสงครามของหนึ่งในกลุ่มประชาธิปไตยกับการปกครองแบบเผด็จการมาตั้งแต่ก่อนสงครามนั้น   ดูสมเหตุสมผล และ มีน้ำหนักพอสมควร แต่มุมมองเหล่านั้นได้สูญเสียความน่าเชื่อถือไปเรื่อย ๆ ขณะที่ความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป

              วิลสันนั้นหวังว่า สันนิบาตชาติ และ การปลดอาวุธนั้นจะช่วยให้สามารถธำรงสันติภาพให้คงอยู่กาลนาน โดยยืมแนวคิดมาจาก เอช.อี.เวลส์ เขาได้อธิบายเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งว่าเป็น "สงครามเพื่อที่จะยุติสงครามทั้งมวล" เขายังหวังที่จะเข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรของอังกฤษและฝร่งเศสตั้งแต่ต้นจนจบ แม้ว่าทั้งสองประเทศจะมีลัทธินิยมทหารอยู่บ้าง

 

           เศรษฐกิจลัทธิจักรวรรดินิยม

               วลาดีมีร์ เลนินได้ยืนยันว่าสาเหตุของสงครามนั้นตั้งอยู่บนจักรวรรดินิยม เขาได้กล่าวพรรณาถึงแนวคิดทางเศรษฐ-ศาสตร์ของคาร์ล มาร์กซ และนักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ จอห์น เอ. ฮอบสัน ซึ่งได้ทำนายว่าการแข่งขันอย่างไม่สิ้นสุดเพื่อการขยายตลาดการค้านั้นจะนำไปสู่ความขัดแย้งในระดับโลก   โดยเหตุผลดังกล่าวนั้นมีผู้เชื่อถือเป็นจำนวนมากและได้สนับ -สนุนการเจริญเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ เลนินยังได้กล่าวว่าความสนใจในการเงินของมหาอำนาจลัทธิทุนนิยม-จักรวรรดินิยมจำนวนมากได้ก่อให้เกิดสงคราม

 

       

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 1 คน และ ผู้เยี่ยมชม 365 คน กำลังออนไลน์

รายชื่อสมาชิกที่ออนไลน์

  • yasumin_w