• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:19edec4a38b3edc93f21b89bf2c1318c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/nav_16_sec05p06_bhb.jpg\" height=\"75\" width=\"259\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n     <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/emo985785.gif\" height=\"19\" width=\"19\" /> <span style=\"color: #eb1343\"> <strong><span style=\"background-color: #f0910e\">เบื้องหลัง</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/bismark.jpg\" height=\"304\" width=\"210\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: x-small\"><strong>ผู้นำในการรวมชาติเยอรมนี</strong> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/1/1c/Bismarck1894.jpg/230px-Bismarck1894.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/1/1c/Bismarck1894.jpg/230px-Bismarck1894.jpg</a></span></span>    \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">           เมื่อ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ออตโต ฟอน บิสมาร์ก</span> ผู้นำในการรวมชาติเยอรมนี นำเยอรมนีจนได้รับชัยชนะใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย</span> และประกาศสถาปนา<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">จักรวรรดิเยอรมัน</span> ในปี <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1870</span> แล้ว จึงได้ดำเนินการตั้ง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สันนิบาตสามจักรพรรดิ</span> (</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\">The Three Emperor\'s League) <span lang=\"TH\">ซึ่งแสดงความเป็นพันธมิตรระหว่าง  3 จักรวรรดิของยุโรป ได้แก่ เยอรมนี <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี</span> และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">จักรวรรดิรัสเซีย</span>   ด้วยเจตนาสำคัญประการแรกคือ  ป้องกันการแก้แค้นของฝรั่งเศส  ภายหลังเมื่อออสเตรีย-ฮังการีและรัสเซียขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์กันจนมิอาจเป็นพันธมิตรต่อกันได้  บิสมาร์กจึงชักชวน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อิตาลี</span>เข้าแทนที่รัสเซีย  จึงเกิดเป็นกลุ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ไตรพันธมิตร</span> (</span>The Triple Alliance) <span lang=\"TH\">ขึ้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">           ครั้นบิสมาร์คหมดอำนาจลง <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">จักรพรรดิไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2</span> ทรงเลิกนโยบายเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย และสร้างความไม่พอใจให้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สหราชอาณาจักร</span>ด้วยการเริ่มโครงการขยายกองทัพเรือ  เพื่อใช้ในการขยายดินแดนและอิทธิพลในซีกโลกตะวันออก  ฝรั่งเศสจึงได้โอกาสเสริมสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียและเข้าใจอันดีกับอังกฤษ    และในที่สุดเมื่อทั้งสามมหาอำนาจตกลงในความขัดแย้งเรื่องอาณานิคมที่เคยมีต่อกันได้แล้ว จึงจัดตั้งกลุ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ไตรภาคี</span> (</span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\">Triple Entente) <span lang=\"TH\">ในปี <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1907</span></span></span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">           วันที่ 26 มิถุนายน  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1914</span>  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">กัฟรีโล ปรินซีป</span>  นักเรียนชาว<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เซิร์บบอสเนีย</span>  ได้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ลอบปลงพระชนม์</span>  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย</span>  รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี   ที่เมือง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ซาราเยโว</span>  ผู้ซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่ม<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">บอสเนียหนุ่ม</span> โดยมีเป้าหมาย ที่จะรวมชาวยูโกสลาฟ หรือ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สลาฟใต้</span>เข้าไว้ด้วยกัน   และประกาศเอกราชจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เหตุการณ์การลอบสังหารนี้  ได้ก่อให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ   ลุกลาม   ต่อมาจนกลายเป็นสงครามเต็มรูปแบบกล่าวคือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีต้องการให้<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เซอร์เบีย</span>ลงโทษผู้กระทำผิด แต่เซอร์เบียปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการกระทำใด ๆ ที่เกิดขึ้นในวันนั้น จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามต่อเซอร์เบีย ทำให้มหาอำนาจยุโรปจำนวนมากต้องเข้าสู่สงครามภายในหนึ่งสัปดาห์เนื่องจากข้อตกลงการป้องกันร่วมกันและการเข้าแทรกแซงสงครามของประเทศพันธมิตรของตน</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span>  </span></span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n      <strong> <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" /> <span style=\"background-color: #ffcc99; color: #b713eb\">การแข่งขันการสะสมอาวุธ</span></strong>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin-right: -2.3pt\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              การแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเล  ระหว่างอังกฤษ และ เยอรมนีนั้น เริ่มรุนแรงขึ้น เมื่อกองทัพเรืออังกฤษสร้าง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">เรือประจัญบานชั้นเดรตนอท</span>  ซึ่งเป็นเรือประจัญบานขนาดหนักได้สำเร็จในปี  <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1906</span>  การคิดค้นเรือดังกล่าวนับเป็นการปฏิวัติทั้งขนาดและพลังอำนาจที่เหนือกว่าเรือประจัญบานธรรมดาอย่างยิ่ง  ยิ่งไปกว่านั้น    อังกฤษยังคงสามารถรักษาความเป็นผู้นำทางทะเลได้เหนือกว่าเยอรมนีและอิตาลี   <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">พอล  เคเนดี้</span>ได้ชี้ว่าทั้งสองประเทศมีความเชื่อว่าแนวคิดของ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">อัลเฟรด เทย์เลอร์ มา-ฮาน</span>  เกี่ยวกับการบัญชาการรบทางทะเลว่า เป็นความสำคัญต่อสถานภาพของประเทศอย่างมาก แต่การผ่าน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">การจารกรรมทางพาณิชย์</span>อาจพิสูจน์ว่าแนวคิดของเขาอาจจะผิดก็เป็นได้</span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin-right: -2.3pt\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/boat.jpg\" style=\"width: 384px; height: 279px\" height=\"321\" width=\"416\" />\n</div>\n<p></p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin-right: -2.3pt\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> <span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">เรือประจัญบานชั้นเดรตนอทของกองทัพเรืออังกฤษ</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"background: #f8fcff\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/62/HMS_Dreadnought_1906_H61017.jpg/200px-HMS_Dreadnought_1906_H61017.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/62/HMS_Dreadnought_1906_H61017.jpg/200px-HMS_Dreadnought_1906_H61017.jpg</a></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">              เดวิด  สตีเวนสัน   นักประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง  ชาวบริเตน  ได้กล่าวถึงการแข่งขันการสะสมอาวุธว่าเป็น <em>&quot;การสร้างเสริมตัวเองเป็นวงกลมแห่งการเตรียมความพร้อมด้านการทหารอย่างแรงกล้า&quot;</em>   เดวิด   เฮอร์มันน์ ได้มองการแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเลว่าเป็นหลักที่จะชี้ชะตาทิศทางของสงคราม  อย่างไรก็ตาม <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ไนอัล เฟอร์กูสัน</span> นักประวัติศาสตร์ชาวสก็อต ได้โต้แย้งว่า  ความสามารถของอังกฤษที่จะรักษาความเป็นผู้นำทางการทหารไว้   มิได้เป็นปัจจัยของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในเวลาต่อมา<o:p></o:p></span><span style=\"color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">   อังกฤษ และ เยอรมนี  ต่างใช้จ่ายเงินในการแข่งขันสะสมอาวุธเป็นจำนาวนมาก  จากสถิติแล้ว หกชาติมหาอำนาจยุโรป  อันได้แก่  อังกฤษ  จักรวรรดิรัสเซีย  ฝรั่งเศส  เยอรมนี  จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ได้ใช้งบประมาณเพื่อการแข่งขันการสะสมอาวุธเพิ่มขึ้นถึง  50%  เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง ปี <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1908</span> กับ ปี <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1913</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>     <a href=\"/node/47192\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720191645, expire = 1720278045, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:19edec4a38b3edc93f21b89bf2c1318c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.~. เบื้องหลัง .~.

 

 

       เบื้องหลัง

ผู้นำในการรวมชาติเยอรมนี

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/1/1c/Bismarck1894.jpg/230px-Bismarck1894.jpg    

           เมื่อออตโต ฟอน บิสมาร์ก ผู้นำในการรวมชาติเยอรมนี นำเยอรมนีจนได้รับชัยชนะในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และประกาศสถาปนาจักรวรรดิเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1870 แล้ว จึงได้ดำเนินการตั้งสันนิบาตสามจักรพรรดิ (The Three Emperor's League) ซึ่งแสดงความเป็นพันธมิตรระหว่าง  3 จักรวรรดิของยุโรป ได้แก่ เยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิรัสเซีย   ด้วยเจตนาสำคัญประการแรกคือ  ป้องกันการแก้แค้นของฝรั่งเศส  ภายหลังเมื่อออสเตรีย-ฮังการีและรัสเซียขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์กันจนมิอาจเป็นพันธมิตรต่อกันได้  บิสมาร์กจึงชักชวนอิตาลีเข้าแทนที่รัสเซีย  จึงเกิดเป็นกลุ่มไตรพันธมิตร (The Triple Alliance) ขึ้น

           ครั้นบิสมาร์คหมดอำนาจลง จักรพรรดิไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 ทรงเลิกนโยบายเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย และสร้างความไม่พอใจให้สหราชอาณาจักรด้วยการเริ่มโครงการขยายกองทัพเรือ  เพื่อใช้ในการขยายดินแดนและอิทธิพลในซีกโลกตะวันออก  ฝรั่งเศสจึงได้โอกาสเสริมสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียและเข้าใจอันดีกับอังกฤษ    และในที่สุดเมื่อทั้งสามมหาอำนาจตกลงในความขัดแย้งเรื่องอาณานิคมที่เคยมีต่อกันได้แล้ว จึงจัดตั้งกลุ่มไตรภาคี (Triple Entente) ในปี ค.ศ. 1907 

           วันที่ 26 มิถุนายน  ค.ศ. 1914  กัฟรีโล ปรินซีป  นักเรียนชาวเซิร์บบอสเนีย  ได้ลอบปลงพระชนม์  อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย  รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี   ที่เมืองซาราเยโว  ผู้ซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่มบอสเนียหนุ่ม โดยมีเป้าหมาย ที่จะรวมชาวยูโกสลาฟ หรือสลาฟใต้เข้าไว้ด้วยกัน   และประกาศเอกราชจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เหตุการณ์การลอบสังหารนี้  ได้ก่อให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ   ลุกลาม   ต่อมาจนกลายเป็นสงครามเต็มรูปแบบกล่าวคือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีต้องการให้เซอร์เบียลงโทษผู้กระทำผิด แต่เซอร์เบียปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการกระทำใด ๆ ที่เกิดขึ้นในวันนั้น จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามต่อเซอร์เบีย ทำให้มหาอำนาจยุโรปจำนวนมากต้องเข้าสู่สงครามภายในหนึ่งสัปดาห์เนื่องจากข้อตกลงการป้องกันร่วมกันและการเข้าแทรกแซงสงครามของประเทศพันธมิตรของตน

 

        การแข่งขันการสะสมอาวุธ

 

              การแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเล  ระหว่างอังกฤษ และ เยอรมนีนั้น เริ่มรุนแรงขึ้น เมื่อกองทัพเรืออังกฤษสร้างเรือประจัญบานชั้นเดรตนอท  ซึ่งเป็นเรือประจัญบานขนาดหนักได้สำเร็จในปี  ค.ศ. 1906  การคิดค้นเรือดังกล่าวนับเป็นการปฏิวัติทั้งขนาดและพลังอำนาจที่เหนือกว่าเรือประจัญบานธรรมดาอย่างยิ่ง  ยิ่งไปกว่านั้น    อังกฤษยังคงสามารถรักษาความเป็นผู้นำทางทะเลได้เหนือกว่าเยอรมนีและอิตาลี   พอล  เคเนดี้ได้ชี้ว่าทั้งสองประเทศมีความเชื่อว่าแนวคิดของอัลเฟรด เทย์เลอร์ มา-ฮาน  เกี่ยวกับการบัญชาการรบทางทะเลว่า เป็นความสำคัญต่อสถานภาพของประเทศอย่างมาก แต่การผ่านการจารกรรมทางพาณิชย์อาจพิสูจน์ว่าแนวคิดของเขาอาจจะผิดก็เป็นได้

 เรือประจัญบานชั้นเดรตนอทของกองทัพเรืออังกฤษ

http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/62/HMS_Dreadnought_1906_H61017.jpg/200px-HMS_Dreadnought_1906_H61017.jpg

               เดวิด  สตีเวนสัน   นักประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง  ชาวบริเตน  ได้กล่าวถึงการแข่งขันการสะสมอาวุธว่าเป็น "การสร้างเสริมตัวเองเป็นวงกลมแห่งการเตรียมความพร้อมด้านการทหารอย่างแรงกล้า"   เดวิด   เฮอร์มันน์ ได้มองการแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเลว่าเป็นหลักที่จะชี้ชะตาทิศทางของสงคราม  อย่างไรก็ตาม ไนอัล เฟอร์กูสัน นักประวัติศาสตร์ชาวสก็อต ได้โต้แย้งว่า  ความสามารถของอังกฤษที่จะรักษาความเป็นผู้นำทางการทหารไว้   มิได้เป็นปัจจัยของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในเวลาต่อมา   อังกฤษ และ เยอรมนี  ต่างใช้จ่ายเงินในการแข่งขันสะสมอาวุธเป็นจำนาวนมาก  จากสถิติแล้ว หกชาติมหาอำนาจยุโรป  อันได้แก่  อังกฤษ  จักรวรรดิรัสเซีย  ฝรั่งเศส  เยอรมนี  จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ได้ใช้งบประมาณเพื่อการแข่งขันการสะสมอาวุธเพิ่มขึ้นถึง  50%  เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง ปี ค.ศ. 1908 กับ ปี ค.ศ. 1913

 

 

    

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 563 คน กำลังออนไลน์