• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ไม่พบหน้าที่เรียก | Page not found', 'node/207', '', '18.188.147.53', 0, 'ab0efc0ca8a975c04eb8b5e2ce31637d', 100, 1716850845) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b5da48c36c9c6a27df2158bd49d78673' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff0066; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง</span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff0066; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff0066; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">     ไซแนปส์</span></b><b><span style=\"color: #9900ff; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งผ่านทางบริเวณที่อยู่ชิดกัน ระหว่างปลายประสาท เช่น ปลาย แอกซอนกับเดนไดรต์ หรือ ปลายแอกซอนกับตัวเซลล์ประสาทของอีกเซลล์หนึ่ง หรือระหว่างตัวเซลล์ประสาทกับตัวเซลล์ประสาทอีกตัวหนึ่งก็ได้ โดยถ้าขาดการไซแนปส์ กระแสประสาทอาจจะเคลื่อนที่ย้อนทิศได้ สารเคมีหรือยาหลายชนิดมีผลต่อการถ่ายทอกฃดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่น สารพิษจากแบคทีเรีย เป็นสาเหตุทำให้อาหารเป็นพิษ ยั้บยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท ทำให้กล้ามเนื้อไม่หดตัวเกิดอาการอัมพาต ยาระงับประสาททำให้สารสื่อประสาทออกมาน้อย กระแสประสาทส่งไปยังสมองได้น้อย เป็นผลทำให้เกิดอาการสงบไม่วิตกกังวล</span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #9900ff; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff0066; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">     ส่วนสารบางชนิด</span></b><b><span style=\"color: #9900ff; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> เช่น สารนิโคติน คาเฟอีน แอมเฟตมีน จะไปกระตุ้นแอกซอนให้ปล่อยสารสื่อประสาทออกมาทำให้เกิดการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว และ ยาฆ่าแมลงบางชนิดจะไปการยั่บยั้งการทำงานของเอนไซม์ ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท</span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #9900ff; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">     </span></b></span><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: #ff0066; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ทิศทางการไหลของกระแสประสาท</span></b><b><span style=\"color: #9900ff; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> จะไหลไปในทิศทางเดียวคือ จากแอกซอนไปยังเดนไดรต์ และจะไม่สวนทิศทางเนื่องจากปลายเดนไดรต์ไม่สามารถสร้างอะซิติลโคลีน และสารสื่อประสาทดังกล่าวจะสลายตัวอย่าง รวดเร็วเนื่องจากเอนไซม์ที่ชื่อ โคลีนเนสเตอเรส ( </span></b><b><span style=\"color: #9900ff; font-family: Tahoma\">cholinesterase) <span lang=\"TH\">ที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทจะพองออกเรียกว่า </span>synaptic korb <span lang=\"TH\">ภายในจะมีโครงสร้างเป็นถุงเล็กๆ เรียกว่า </span>syraptic veusisler <span lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างสารสื่อประสาทได้แก่ อะซีติลโคลิน </span><o:p></o:p></span></b></span></p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41698\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u18977/HOME.gif\" height=\"50\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/47329\"></a><a href=\"/node/47329\"></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716850854, expire = 1716937254, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b5da48c36c9c6a27df2158bd49d78673' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การถ่ายทอดกระแสประสาท

การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง

     ไซแนปส์ หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งผ่านทางบริเวณที่อยู่ชิดกัน ระหว่างปลายประสาท เช่น ปลาย แอกซอนกับเดนไดรต์ หรือ ปลายแอกซอนกับตัวเซลล์ประสาทของอีกเซลล์หนึ่ง หรือระหว่างตัวเซลล์ประสาทกับตัวเซลล์ประสาทอีกตัวหนึ่งก็ได้ โดยถ้าขาดการไซแนปส์ กระแสประสาทอาจจะเคลื่อนที่ย้อนทิศได้ สารเคมีหรือยาหลายชนิดมีผลต่อการถ่ายทอกฃดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่น สารพิษจากแบคทีเรีย เป็นสาเหตุทำให้อาหารเป็นพิษ ยั้บยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท ทำให้กล้ามเนื้อไม่หดตัวเกิดอาการอัมพาต ยาระงับประสาททำให้สารสื่อประสาทออกมาน้อย กระแสประสาทส่งไปยังสมองได้น้อย เป็นผลทำให้เกิดอาการสงบไม่วิตกกังวล

     ส่วนสารบางชนิด เช่น สารนิโคติน คาเฟอีน แอมเฟตมีน จะไปกระตุ้นแอกซอนให้ปล่อยสารสื่อประสาทออกมาทำให้เกิดการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว และ ยาฆ่าแมลงบางชนิดจะไปการยั่บยั้งการทำงานของเอนไซม์ ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท

     ทิศทางการไหลของกระแสประสาท จะไหลไปในทิศทางเดียวคือ จากแอกซอนไปยังเดนไดรต์ และจะไม่สวนทิศทางเนื่องจากปลายเดนไดรต์ไม่สามารถสร้างอะซิติลโคลีน และสารสื่อประสาทดังกล่าวจะสลายตัวอย่าง รวดเร็วเนื่องจากเอนไซม์ที่ชื่อ โคลีนเนสเตอเรส ( cholinesterase) ที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทจะพองออกเรียกว่า synaptic korb ภายในจะมีโครงสร้างเป็นถุงเล็กๆ เรียกว่า syraptic veusisler ทำหน้าที่สร้างสารสื่อประสาทได้แก่ อะซีติลโคลิน

 

 

 

สร้างโดย: 
น.ส.เพ็ญนภา ติษยางกูร และ อาจารย์วิริยะ โภคาพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 235 คน กำลังออนไลน์