• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8e328a5e351d2f4f5e0be417712bdced' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: xx-large\"><span style=\"color: #ff6600\"><u><span style=\"color: #ff6600\">อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย</span></u></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">พระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุนรามคำแหงมหาราช</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"></span><img border=\"0\" width=\"166\" src=\"/files/u20091/post-1-1192260084.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 192px; height: 166px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260084.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260084.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                  สร้างขึ้นปี พ.ศ. 2518 ตั้งอยู่ริมถนนจรดวิถีถ่องทางทิศเหนือของวัดมหาธาตุ ลักษณะพระบรมรูปพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเป็นพระบรมรูปหล่อด้วยทองเหลืองผสมทองแดงรมดำ ขนาดสองเท่าขององค์จริง สูง  3  เมตร  ประทับนั่งห้อยพระบาทบนพระแท่นมนังคศิลาบาตร พระหัตถ์ขวาถือคัมภีร์ พระหัตถ์ซ้ายอยู่ในท่าทรงสั่งสอนประชาชน พระแท่นด้านซ้ายมีพานวางพระขรรค์ไว้ข้างๆ  ด้านข้างของพระบรมรูป มีภาพแผ่นจำหลักจารึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระองค์ ตามที่ได้จารึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ 1</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดมหาธาตุ</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192260965.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 216px; height: 164px\" />  <img border=\"0\" width=\"112\" src=\"/files/u20091/post-1-1192260981.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 130px; height: 163px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260965.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260965.jpg</a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260981.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260981.jpg</a></span><span style=\"color: #3366ff\">  </span>\n</p>\n<p>\n                <span style=\"color: #3366ff\">  เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่กลางเมืองมีกำแพง และคูล้อมรอบเขตวัด มีสระใหญ่ 3 สระ และสระเล็กๆ วัดมหาธาตุเป็นศูนย์รวมงานทางศิลปะด้านสถาปัตยกรรมในสมัยกรุงสุโขทัย มีพระเจดีย์มหาธาตุทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ซึ่งเป็นศิลปะแบบสุโขทัยแท้ เป็นเจดีย์ประธาน ล้อมรอบด้วยเจดีย์แปดองค์บนฐานเดียวกันได้แก่ ปรางค์ศิลาแลงตั้งอยู่ที่ทิศทั้งสี่  และเจดีย์แบบศรีวิชัยผสมลังกาก่อด้วยอิฐอยู่ที่มุมทั้งสี่ ภายในรายล้อมไปด้วยเจดีย์ถึง 209 องค์ วิหาร 10 แห่ง มณฑป 8 ซุ้ม พระอุโบสถ 1 หลัง ตระพัง (สระน้ำขนาดเล็ก) 4แห่งด้านตะวันออกของเจดีย์ประธานมีวิหารขนาดใหญ่เรียกว่า วิหาร 11 ห้อง ปัจจุบันปรักหักพังเหลือแต่เสาศิลาแลงขนาดใหญ่ มีแท่นซึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนี พระพุทธรูปสำริดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ขนาดหน้าตักกว้าง 6.25 เมตรปัจจุบันประดิษฐานเป็นพระประธานในพระวิหารหลวง วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร ด้านเหนือและใต้ของเจดีย์ประธานมีพระพุทธรูปยืนภายในซุ้มเรียกว่า &quot;พระอัฎฐารส&quot;</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">เนินปราสาท</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192261396.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 250px; height: 187px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192261396.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192261396.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัดมหาธาตุ เป็นโบราณสถานที่มองเห็นต่างจากสิ่งอื่นภายในเขตเมือง เพราะเป็นเพียงเนินดินสูงที่สุดของเมือง เดิมนักโบราณคดีและผู้รู้มีความเห็นว่าเป็นฐานปราสาทราชวัง แต่ในระยะหลังนักวิชาการบางท่าน  เช่น อาจารย์พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ มีความเห็นว่าปราสาทราชวังน่าจะอยู่ที่อื่น  ดังในจารึกวัดสรศักดิ์ได้กล่าวถึงพระราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช พร้อมด้วยพระราชมารดากับพระมาตุจฉา  เสด็จประทับ ณ พระตำหนักด้านทิศตะวันออกของวัดสรศักดิ์  ลักษณะเป็นฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า  ก่อด้วยอิฐ ส่วนเครื่องบนที่คาดว่าเป็นเครื่องไม้ ได้หักพังลงหมด ในปี พ.ศ. 2376 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งยังทรงผนวช  ได้เสด็จธุดงค์มายังเมืองเก่าสุโขทัย ทรงพบศิลาจารึกสุโขทัย (ศิลาจารึกหลักที่ 1) และพระแท่นมนังศิลาบาตรในบริเวณเนินปราสาทแห่งนี้ เมื่อวันที่ 17 มกราคม</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดศรีสวาย</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192262518.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 260px; height: 175px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192262518.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192262518.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">เดิมเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ ลักษณะเป็นปรางค์สามยอดแบบขอม อยู่ทางทิศใต้ของวัดมหาธาตุ มีคูน้ำล้อมรอบปรางค์สามองค์ โบราณสถานดังกล่าวนี้มีที่มาจากทรงปราสาทแบบขอม แต่ได้รับการดัดแปลงแตกต่างจากต้นแบบ เช่นส่วนประดับของปราสาทขอมที่เรียกว่า บันแถลง กลายเป็นรูปกลีบขนุน และปูนปั้นประดับกลีบขนุนเป็นรูปครุฑยุดนาค และเทวดา ปรางค์วัดศรีสวาย จึงแตกต่างจากปรางค์สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่มีต้นแบบจากปรางค์ในศิลปะขอมและคล้ายคลึงแบบขอมมากกว่าปรางค์ในแบบของช่างสุโขทัย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                  เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย ทรงพบรูปพระอิศวรและโบราณวัตถุหินจำหลักเป็นทับหลังรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ รูปพระนารายณ์สี่กร และชิ้นส่วนของเทวรูปและศิวลึงค์ทำด้วยสำริด  จึงทรงสันนิษฐานว่า วัดนี้คงเป็นสถานที่พวกพราหมณ์ใช้ทำพิธีโล้ชิงช้า (ตรียัมปวาย) แต่ต่อมาเมื่อคนไทยเข้ามาครอบครองกรุงสุโขทัย วัดนี้จึงถูกดัดแปลงให้เป็นวัดทางพระพุทธศาสนา</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">ศาลผาตาแดง</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192262930.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 238px; height: 170px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192262930.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192262930.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่ใกล้กับตระพังตระกวนวัดสระศรี เป็นศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์ อาคารที่เหลือมีฐานยกสูง ด้านหน้าเป็นมุขปรางค์แต่องค์ปรางค์หักเกือบหมดไม่เห็นรูปร่าง สิ่งก่อสร้างดังกล่าวเป็นศิลาแลงทั้งหมด รูปแบบทางสถาปัตยกรรมเป็นศิลปะสมัยนครวัด (ราวพุทธศตวรรษที่ 17-18) นักโบราณคดีบางท่านสันนิษฐานว่า เป็นโบราณสถานร่วมสมัยกับนครวัด จัดเป็นโบราณสถานที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในเมืองสุโขทัย</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดตระพังเงิน</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"112\" src=\"/files/u20091/post-1-1192263593_0.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 128px; height: 160px\" />  <img border=\"0\" width=\"112\" src=\"/files/u20091/post-1-1192263634.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 130px; height: 160px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263593.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263593.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263634.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263634.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่ทางทิศตะวันตกของวัดมหาธาตุ จุดเด่นของวัดคือสระน้ำใหญ่อันเป็นที่มาของชื่อ ตระพังเงิน ตระพัง เป็นเป็นภาษาขอม หมายถึงสระน้ำ วัดตระพังเงินตั้งอยู่บริเวณขอบตระพังเงินด้านทิศตะวันตก และมีเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือดอกบัวตูมเป็นประธาน บริเวณเรือนธาตุจะมีชั้นประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นประทับยืนทั้ง 4 ทิศ ด้านหน้าเป็นวิหาร 7 ห้อง ฐานและเสาก่อด้วยศิลาแลง  มีพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยประดิษฐานอยู่ภายใน ตรงกลางตระพังเป็นเกาะขนาดเล็กเป็นที่ตั้งพระอุโบสถ บริเวณตระพังมีดอกบัวขึ้นอยู่รอบสระทำให้เกิดทัศนียภาพที่สวยงามมาก</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดตระพังทอง</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"333\" src=\"/files/u20091/post-1-1192263924.jpg\" height=\"250\" style=\"width: 303px; height: 215px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263924.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263924.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">เป็นโบราณสถาน ที่เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนใหม่และยังมีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ ตั้งอยู่กลางตระพังทองซึ่งกว้างยาวด้านละประมาณ 200 เมตร มีสระน้ำอีกหลายสระ ภายในวัดมีพระอุโบสถเก่าอยู่ทางทิศตะวันออก ส่วนพระอุโบสถใหม่นั้นราษฎรเรี่ยไรเงินกันสร้างขึ้นอยู่ทางทิศตะวันตก <br />\n                  จุดเด่นของวัดที่เห็นได้ชัดคือ กลางตระพังเป็นเกาะที่ตั้งของพระเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา ซึ่งยอดและคอระฆังหักพังลงมาแล้ว มีสะพานไม้ขนาดใหญ่ทอดข้ามไปยังเกาะนี้ บนเกาะมีมณฑปสร้างใหม่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ซึ่งปรากฏในจารึกสุโขทัยหลักที่ 8 ศิลาจารึกเขา สุมนกูฎว่า พระมหาธรรมราชาลิไทโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแบบรอยพิมพ์จากลังกาใน พ.ศ. 1902 และให้นำไปประดิษฐาน ณ ภูเขาทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัย เรียกว่า เขาสุมนกูฎ ดังในลังกาทวีป (ปัจจุบันเรียกว่า เขาพระบาทใหญ่) มีงานนมัสการพระบาทนี้เป็นประจำทุกปี</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดพระพายหลวง</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"245\" src=\"/files/u20091/post-1-1192264322.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264322.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264322.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่ใกล้กับศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ ก่อสร้างก่อนการตั้งเมืองสุโขทัย มีความสำคัญเป็นอันดับสอง รองจากวัดมหาธาตุ เพราะมีรูปแบบศิลปกรรมตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของสุโขทัย  และมีการสร้างเพิ่มในสมัยสุโขทัยตอนปลาย  วัดพระพายหลวงจึงเป็นแหล่งรวมงานศิลปกรรมหลายยุคหลายสมัย ผังบริเวณวัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีคูน้ำล้อมรอบ 3 ชั้น คูชั้นนอกเรียก คูแม่โจน มีปรางค์ศิลาแลง 3 องค์เป็นประธานของวัด  องค์กลางและองค์ด้านทิศใต้พังเหลือแต่ฐาน  เหลือเพียงองค์ด้านเหนือ  หน้าบันประดับลายปูนปั้นเป็นศิลปะสมัยสุโขทัยตอนต้นที่งดงามมาก  สันนิษฐานว่าสร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นศิลปะขอมสมัยบายน (รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7) บริเวณหน้าปรางค์มีวิหารที่เหลือเพียงเสาใหญ่ศิลาแลง ถาวรวัตถุที่สร้างเสริมต่อขยายออกไปทางด้านหน้าของพระปรางค์สามองค์ เช่น เจดีย์เหลี่ยมที่เหลือเพียงยอดปรักหักพัง และมณฑปประดิษฐานพระพุทธรูปสี่อิริยาบท ได้แก่ นั่ง ยืน เดิน และนอน ปัจจุบันปรักหักพังลงเกือบหมด</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดศรีชุม</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192264554.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 226px; height: 161px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264554.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264554.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">ตั้งอยู่ในบริเวณที่มีคูน้ำล้อมรอบนอกเมืองเก่าสุโขทัยทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นวัดที่แปลกที่สุดเพราะผู้สร้างมีความคิดลึกซึ้งและมีความคิดก้าวไกล หากมองผิวเผินเพียงภายนอกจะมองเห็นมณฑปมีพระพุทธรูปประทับนั่งอยู่ตรงกลางเพียงองค์หนึ่ง แต่ที่แท้จริงมณฑปหลังนี้มีผนังหนามากก่ออิฐเป็นกำแพง 2 ชั้นมีบันไดเป็นขั้นๆ ขึ้นสู่ยอดมณฑปได้ เรามักเรียกกันว่า อุโมงค์วัดศรีชุม มีทางเข้าทั้งด้านซ้ายและด้านขวา แต่ทางด้านซ้ายเท่านั้นที่เข้าไปได้ถึงช่องลมด้านข้างและช่องหลังพระเศียรพระพุทธรูป<br />\nหากออกไปแอบอยู่ทางช่องนี้แล้วพูดออกมาดังๆ ผู้ที่อยู่ในวิหารก็อาจเข้าใจว่าพระพุทธรูปพูดได้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">เตาทุเรียง</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"168\" src=\"/files/u20091/post-1-1192264874.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264874.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264874.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">เตาทุเรียง เป็นชื่อเรียกเตาเผาถ้วยชามสังคโลกสมัยสุโขทัย เตาทุเรียงที่สำรวจพบมีอยู่ 3 บริเวณด้วยกัน คือ เตาทุเรียงบริเวณเมืองเก่าสุโขทัย เตาทุเรียงป่ายาง และเตาทุเรียงเกาะน้อย ที่อำเภอศรีสัชนาลัย เตาทุเรียงบริเวณเมืองเก่าสุโขทัยเป็นเนินดินอยู่ระหว่างวัดศรีชุมและ วัดพระพายหลวง ชาวบ้านเรียกกันว่า เนินร่อนทอง บริเวณนี้นักโบราณคดีได้พบเตาเผาสังคโลกไม่น้อยกว่า 49 เตา เต็มไปด้วยร่องรอยมูลดินกับเศษถ้วยชามสังคโลก เตาแบบนี้เป็นเตาเผาแบบอิฐ กว้าง 1.50-2.00 เมตร ยาว 4-5 เมตร ทำเป็นรูปคล้ายประทุนเกวียนแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ที่ใส่ไฟ ที่วางถ้วยชาม และปล่องไฟ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดเชตุพน</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192265119.jpg\" height=\"150\" />  <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192265146.jpg\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265119.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265119.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265146.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265146.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่ห่างจากเขตเมืองชั้นในประมาณ 2 กม. เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่มีคูน้ำล้อมรอบ สวยงามด้วยเทือกเขาหลวงเป็นฉากหลัง ลักษณะเด่นของโบราณสถานแห่งนี้ คือ พระพุทธรูปสี่อิริยาบทขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ในมณฑปหินชนวน ซึ่งสามารถมองเห็นได้แต่ไกล ผนังด้านทิศเหนือของมณฑปเป็นพระพุทธรูปประทับนั่ง ด้านทิศใต้เป็นพระพุทธรูปประทับนอน ด้านทิศตะวันออกเป็นพระพุทธรูปลีลา ด้านทิศตะวันตกเป็นพระพุทธรูปประทับยืน  ปัจจุบันพระพุทธรูปประทับนั่งและพระพุทธรูปประทับนอนหักพังเสียหายหมด  เหลือแต่พระพุทธรูปประทับยืน และพระพุทธรูปลีลา ซึ่งก็ไม่สมบูรณ์เต็มองค์ ส่วนอื่นของวัดประกอบด้วยกำแพงแก้วล้อมมณฑปโดยทำจากหินชนวนที่มีขนาดใหญ่และหนา โดยมีการสกัดและบากหินเพื่อทำเป็นกรอบและซี่กรงเลียนแบบเครื่องไม้  ด้านหลังมณฑปใหญ่มีมณฑปขนาดเล็กย่อมุมไม้ยี่สิบ  มีหลังคาก่อซ้อนกันเป็นเสา  แลใช้หินชนวนขนาดใหญ่ทำเป็นเพดาน  ยังปรากฏร่องรอยของพระพุทธรูปปางมารวิชัย แต่ชำรุดมากแล้ว ที่ผนังด้านนอกมีร่องรอยภาพเขียนสีดำลายพรรณพฤกษาอยู่บนกรอบประตู ด้านหน้าเป็นพระวิหารเสากลมสองแถว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                  ไม่ปรากฏหลักฐานว่าวัดนี้สร้างในสมัยใด แต่มีกล่าวอ้างถึงในจารึกวัดสรศักดิ์ ซึ่งบันทึกเหตุการณ์กลางพุทธศตวรรษที่ 20 จากข้อความที่ระบุชื่อวัดเชตุพน ประกอบกับรูปแบบทางศิลปะกรรม แสดงให้เห็นว่า วัดเชตุพนคงเป็นวัดที่มีความสำคัญและเจริญร่งเรืองในช่วงสุโขทัยตอนปลาย หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งคือ มีการพบจารึกวัดเชตุพน ที่วัดนี้กล่าวถึงเจ้าธรรมรังษีซึ่งบวชได้ 22 พรรษา เป็นผู้มีจิตศรัทธาสร้างพระพุทธรูปขึ้นในพ.ศ. 2057</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดเจดีย์สี่ห้อง</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20091/post-1-1192265401.jpg\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265401.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265401.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">ตั้งอยู่ทางตะวันออกของวัดเชตุพน ห่างไปราว 100 เมตร นอกจากวิหาร เจดีย์ประธาน และเจดีย์รายต่างๆ แล้ว สิ่งที่โดดเด่นที่สุดในวัดนี้ คือ รูปปูนปั้นอันงดงามที่ประดับอยู่รอบฐานเจดีย์ประธาน เป็นรูปเทวดา สวมอาภรณ์และเครื่องประดับต่างๆ กัน ในมือถือภาชนะมีพรรณพฤกษาโผล่พ้นออกมา แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ ความเจริญงอกงาม ภาชนะนี้เรียกว่า หม้อปูรณะฆฎะ นอกจากนี้ก็เป็นปูนปั้นรูปช้างและสิงห์ประดับ องค์เจดีย์ประธานที่ได้รับการบูรณะมาแล้วหลายสมัย เป็นทรงระฆังกลม ส่วนยอดเจดีย์ได้หักพังลง คงปรากฏแต่ส่วนปล้องไฉนตกอยู่ที่ฐานเจดีย์</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดตระพังทองหลาง</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"266\" src=\"/files/u20091/post-1-1192265964_0.jpg\" height=\"200\" style=\"width: 246px; height: 192px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265964.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265964.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่ริมถนนจรดวิถีถ่อง เยื้องกับวัดช้างล้อม มีมณฑปขนาดกลางที่งดงามที่สุด ด้านหน้ามณฑปมีฐานวิหารเสาศิลาแลง สิ่งที่น่าชมของวัดตระพังทองหลางคือ ศิลปกรรมปูนปั้นบนผนังทั้งสามด้านของมณฑปรูปสี่เหลี่ยม มณฑปด้านทิศตะวันออกเป็นซุ้มประตู อีกสามด้านเป็นผนังที่ประดับด้วยรูปปูนปั้นที่ชำรุดเกือบหมดแล้ว เป็นเรื่องตามพุทธประวัติ ดังนี้<br />\n                  ผนังด้านเหนือ  เป็นภาพพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าทรมานช้างชื่อ นาฬาคีรี  ปั้นเป็นรูปพระพุทธองค์ประทับยืนเคียงข้างด้วยพระอัครสาวก คือ พระอานนท์ ที่ปลายพระบาทของพระพุทธเจ้ามีร่องรอยปูนปั้นรูปหัวเข่าช้างคุกเข่ายอมแพ้<br />\n                  ผนังด้านใต้ เป็นภาพพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีพระอินทร์ พระพรหม และ ทวยเทพตามเสด็จมาส่ง ปัจจุบันภาพพิมพ์ที่ถอดจากภาพปูนปั้นนี้จัดแสดงอยู่ใน พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติรามคำแหง<br />\n                  ผนังด้านตะวันตก เป็นภาพพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าประทานเทศนาโปรดพระบิดากับกษัตริย์ศากยวงศ์ ขณะทรงสั่งสอนทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์ เป็นรูปรัศมีเปลวไฟล้อมรอบพระพุทธองค์ และมีรูปบรรดาพระญาติแวดล้อมอยู่ภายนอกรูปรัศมีนั้น <br />\n                  ภาพปูนปั้นเหล่านี้แสดงถึงลักษณะศิลปกรรมสมัยสุโขทัยที่เจริญสูงสุด หรือที่เรียกว่า ยุคทองของศิลปะสมัยสุโขทัย ซึ่งมีอายุอยู่ในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 20</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดสะพานหิน</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"162\" src=\"/files/u20091/post-1-1192266637_0.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192266637.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192266637.jpg</a>\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">ตั้งอยู่บนเนินเขาที่มีความสูง 200 เมตร  ซื่อวัดเรียกตามลักษณะทางที่ปูลาดด้วยหินชนวนจากตีนเขาขึ้นไปเป็นระยะทาง 300 เมตร ก่อนถึงตัววัดบนเนินลาดมีเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ขนาดเล็ก บนยอดเนินเป็นวิหารพระยืน ผนังรับองค์พระก่อด้วยอิฐ พระวิหารใช้เสาศิลา ปัจจุบันปรักหักพังมาก  สิ่งสำคัญในวัด  คือ  พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย มีขนาดใหญ่สูง 12.50 เมตร เรียกว่า พระอัฎฐารส ซึ่งหมายถึงพระพุทธรูปประทับยืน ที่นิยมสร้างกันในสมัยสุโขทัย สันนิษฐานกันว่า พระอัฎฐารสนี้ คือพระพุทธรูปยืนขนาดใหญ่ที่ศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงเมืองสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชว่า &quot;ในกลางอรัญญิก มีพิหารอันณึ่งมนใหญ่ สูงงามแก่กม มีพระอัฎฐารสอันณึ่งลุกยืน&quot; และสันนิษฐานอีกว่า วัดสะพานหินนี้น่าจะเป็นวัดที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงช้างเผือกชื่อ รูจาคีรี ขึ้นไปนบพระทุกวันข้างขึ้น 15 ค่ำและข้างแรม 15 ค่ำ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดเขาพระบาทน้อย</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u20091/post-1-1192266896.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192266896.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192266896.jpg</a> \n</p>\n<p align=\"left\">\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่นอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก ห่างจากประตูอ้อประมาณ 2.7 กิโลเมตร  อยู่บนเนินเขาเตี้ย สูงประมาณ 150 เมตร วัดนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดพระบาทน้อย โบราณสถานที่สำคัญ คือ เจดีย์ทรงจอมแห ซึ่งมีรูปลักษณะแปลกไปจากเจดีย์แบบอื่นๆ ที่พบกันทั่วไป  มีปรากฏที่วัดเขาพระบาทน้อยเพียงองค์เดียวในเมืองสุโขทัย  ลักษณะของตัวเจดีย์เป็นรูประฆัง  แต่ก่อเป็นริ้วๆ  ลักษณะคล้ายแห จึงเรียกกันว่า  เจดีย์ทรงจอมแหฐานของเจดีย์เป็นฐานบัว 3 วั้น  ชั้นที่สามมีซุ้มคูหา 4  ทิศประดิษฐานพระพุทธรูปข้างใน ด้านหน้าเจดีย์ทรงจอมแหมีวิหารประดิษฐานรอยพระพุทธบาท 4 รอย (ปัจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง) ด้านหลังมีกุฏิสงฆ์ก่อด้วยศิลาปนอิฐ</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">วัดมังกร</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u20091/post-1-1192267048.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192267048.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192267048.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                  <span style=\"color: #3366ff\">อยู่กลางถนนที่จะเข้าเมืองสุโขทัยทางประตูอ้อ เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของกลุ่มวัดทางทิศตะวันตก มีวิหารขนาดใหญ่ เสาแปดเหลี่ยม ชื่อ วัดมังกร อาจมาจากรูปมังกรที่พันอยู่รอบฐานของวิหาร และรูปมังกรมีเกล็ดทำด้วยกระเบื้องเคลือบ ปัจจุบันรูปมังกรรอบฐานวิหารไม่ปรากฏแล้ว เมื่อครั้งกรมศิลปากรขุดแต่งวัดนี้ พบกระเบื้องเคลือบมากมาย และยังเครื่องสังคโลก รูปพญาครุฑจับนาคที่สวยงามมาก (ปัจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง)  ส่วนหนึ่งของโบราณสถานที่ยังคงอยู่  คือ  กำแพงแก้วทำด้วยเครื่องสังคโลกเคลือบสีขาว และเจดีย์ 2 องค์ องค์หนึ่งยังสมบูรณ์อยู่คือมีทั้งฐาน และตัวเจดีย์ทรงลังกา และยอดเป็นปล้องไฉน อีกองค์หนึ่งเป็นเจดีย์ทรงลังกาเหมือนกับองค์แรก แต่มีขนาดใหญ่กว่าและยอดเจดีย์ปรักหักพังลง</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><span style=\"color: #3366ff\">สรีดภงส์</span></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"277\" src=\"/files/u20091/post-1-1192267268.jpg\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192267268.jpg\">http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192267268.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                 <span style=\"color: #3366ff\">สรีดภงส หรือ ทำนบพระร่วง เป็นทำนบดินกั้นระหว่างเขากิ่วอ้ายมา กับเขาพระบาทใหญ่ ซึ่งสันนิษฐานว่าในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือที่ทำนบที่ใช้เก็บกักน้ำจากโซกต่างๆ ตามบริเวณเขาถึง 17 โซก โดยมีลำรางระบายน้ำส่งเข้าตัวเมือง และเก็บกักน้ำไว้ในสระใหญ่และสระเล็กโดยเฉพาะสระน้ำตามวัดต่างๆ หรือ ตระพัง เช่น ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังสอ เป็นต้น <br />\n                 สรีดภงสในปัจจุบันได้รับการปรับปรุงขึ้นใหม่ ให้เป็นเขื่อนดินมีความสูงและแข็งแรงกว่าเดิม คือสูงประมาณ 10 เมตร และสามารถกักเก็บน้ำได้ถึง 400,000 ลูกบาศก์เมตร</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><a href=\"/node/47254\"><img border=\"0\" width=\"69\" src=\"/files/u20091/z-back2.gif\" height=\"45\" /></a>  <a href=\"/node/47264\"><img border=\"0\" width=\"69\" src=\"/files/u20091/next.gif\" height=\"45\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1728216938, expire = 1728303338, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8e328a5e351d2f4f5e0be417712bdced' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

พระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

 

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260084.jpg

                  สร้างขึ้นปี พ.ศ. 2518 ตั้งอยู่ริมถนนจรดวิถีถ่องทางทิศเหนือของวัดมหาธาตุ ลักษณะพระบรมรูปพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเป็นพระบรมรูปหล่อด้วยทองเหลืองผสมทองแดงรมดำ ขนาดสองเท่าขององค์จริง สูง  3  เมตร  ประทับนั่งห้อยพระบาทบนพระแท่นมนังคศิลาบาตร พระหัตถ์ขวาถือคัมภีร์ พระหัตถ์ซ้ายอยู่ในท่าทรงสั่งสอนประชาชน พระแท่นด้านซ้ายมีพานวางพระขรรค์ไว้ข้างๆ  ด้านข้างของพระบรมรูป มีภาพแผ่นจำหลักจารึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระองค์ ตามที่ได้จารึกไว้ในศิลาจารึกหลักที่ 1

 

วัดมหาธาตุ

 

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260965.jpg

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192260981.jpg 

                  เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่กลางเมืองมีกำแพง และคูล้อมรอบเขตวัด มีสระใหญ่ 3 สระ และสระเล็กๆ วัดมหาธาตุเป็นศูนย์รวมงานทางศิลปะด้านสถาปัตยกรรมในสมัยกรุงสุโขทัย มีพระเจดีย์มหาธาตุทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ซึ่งเป็นศิลปะแบบสุโขทัยแท้ เป็นเจดีย์ประธาน ล้อมรอบด้วยเจดีย์แปดองค์บนฐานเดียวกันได้แก่ ปรางค์ศิลาแลงตั้งอยู่ที่ทิศทั้งสี่  และเจดีย์แบบศรีวิชัยผสมลังกาก่อด้วยอิฐอยู่ที่มุมทั้งสี่ ภายในรายล้อมไปด้วยเจดีย์ถึง 209 องค์ วิหาร 10 แห่ง มณฑป 8 ซุ้ม พระอุโบสถ 1 หลัง ตระพัง (สระน้ำขนาดเล็ก) 4แห่งด้านตะวันออกของเจดีย์ประธานมีวิหารขนาดใหญ่เรียกว่า วิหาร 11 ห้อง ปัจจุบันปรักหักพังเหลือแต่เสาศิลาแลงขนาดใหญ่ มีแท่นซึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนี พระพุทธรูปสำริดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ขนาดหน้าตักกว้าง 6.25 เมตรปัจจุบันประดิษฐานเป็นพระประธานในพระวิหารหลวง วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร ด้านเหนือและใต้ของเจดีย์ประธานมีพระพุทธรูปยืนภายในซุ้มเรียกว่า "พระอัฎฐารส"

 

เนินปราสาท

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192261396.jpg

                  ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัดมหาธาตุ เป็นโบราณสถานที่มองเห็นต่างจากสิ่งอื่นภายในเขตเมือง เพราะเป็นเพียงเนินดินสูงที่สุดของเมือง เดิมนักโบราณคดีและผู้รู้มีความเห็นว่าเป็นฐานปราสาทราชวัง แต่ในระยะหลังนักวิชาการบางท่าน  เช่น อาจารย์พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ มีความเห็นว่าปราสาทราชวังน่าจะอยู่ที่อื่น  ดังในจารึกวัดสรศักดิ์ได้กล่าวถึงพระราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราช พร้อมด้วยพระราชมารดากับพระมาตุจฉา  เสด็จประทับ ณ พระตำหนักด้านทิศตะวันออกของวัดสรศักดิ์  ลักษณะเป็นฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า  ก่อด้วยอิฐ ส่วนเครื่องบนที่คาดว่าเป็นเครื่องไม้ ได้หักพังลงหมด ในปี พ.ศ. 2376 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งยังทรงผนวช  ได้เสด็จธุดงค์มายังเมืองเก่าสุโขทัย ทรงพบศิลาจารึกสุโขทัย (ศิลาจารึกหลักที่ 1) และพระแท่นมนังศิลาบาตรในบริเวณเนินปราสาทแห่งนี้ เมื่อวันที่ 17 มกราคม

 

วัดศรีสวาย

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192262518.jpg

                  เดิมเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ ลักษณะเป็นปรางค์สามยอดแบบขอม อยู่ทางทิศใต้ของวัดมหาธาตุ มีคูน้ำล้อมรอบปรางค์สามองค์ โบราณสถานดังกล่าวนี้มีที่มาจากทรงปราสาทแบบขอม แต่ได้รับการดัดแปลงแตกต่างจากต้นแบบ เช่นส่วนประดับของปราสาทขอมที่เรียกว่า บันแถลง กลายเป็นรูปกลีบขนุน และปูนปั้นประดับกลีบขนุนเป็นรูปครุฑยุดนาค และเทวดา ปรางค์วัดศรีสวาย จึงแตกต่างจากปรางค์สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่มีต้นแบบจากปรางค์ในศิลปะขอมและคล้ายคลึงแบบขอมมากกว่าปรางค์ในแบบของช่างสุโขทัย

                  เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย ทรงพบรูปพระอิศวรและโบราณวัตถุหินจำหลักเป็นทับหลังรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ รูปพระนารายณ์สี่กร และชิ้นส่วนของเทวรูปและศิวลึงค์ทำด้วยสำริด  จึงทรงสันนิษฐานว่า วัดนี้คงเป็นสถานที่พวกพราหมณ์ใช้ทำพิธีโล้ชิงช้า (ตรียัมปวาย) แต่ต่อมาเมื่อคนไทยเข้ามาครอบครองกรุงสุโขทัย วัดนี้จึงถูกดัดแปลงให้เป็นวัดทางพระพุทธศาสนา

 

ศาลผาตาแดง

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192262930.jpg

                  อยู่ใกล้กับตระพังตระกวนวัดสระศรี เป็นศาสนสถานของศาสนาพราหมณ์ อาคารที่เหลือมีฐานยกสูง ด้านหน้าเป็นมุขปรางค์แต่องค์ปรางค์หักเกือบหมดไม่เห็นรูปร่าง สิ่งก่อสร้างดังกล่าวเป็นศิลาแลงทั้งหมด รูปแบบทางสถาปัตยกรรมเป็นศิลปะสมัยนครวัด (ราวพุทธศตวรรษที่ 17-18) นักโบราณคดีบางท่านสันนิษฐานว่า เป็นโบราณสถานร่วมสมัยกับนครวัด จัดเป็นโบราณสถานที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในเมืองสุโขทัย

 

วัดตระพังเงิน

 

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263593.jpg

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263634.jpg

                  อยู่ทางทิศตะวันตกของวัดมหาธาตุ จุดเด่นของวัดคือสระน้ำใหญ่อันเป็นที่มาของชื่อ ตระพังเงิน ตระพัง เป็นเป็นภาษาขอม หมายถึงสระน้ำ วัดตระพังเงินตั้งอยู่บริเวณขอบตระพังเงินด้านทิศตะวันตก และมีเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือดอกบัวตูมเป็นประธาน บริเวณเรือนธาตุจะมีชั้นประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นประทับยืนทั้ง 4 ทิศ ด้านหน้าเป็นวิหาร 7 ห้อง ฐานและเสาก่อด้วยศิลาแลง  มีพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยประดิษฐานอยู่ภายใน ตรงกลางตระพังเป็นเกาะขนาดเล็กเป็นที่ตั้งพระอุโบสถ บริเวณตระพังมีดอกบัวขึ้นอยู่รอบสระทำให้เกิดทัศนียภาพที่สวยงามมาก

 

วัดตระพังทอง

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192263924.jpg

                  เป็นโบราณสถาน ที่เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนใหม่และยังมีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ ตั้งอยู่กลางตระพังทองซึ่งกว้างยาวด้านละประมาณ 200 เมตร มีสระน้ำอีกหลายสระ ภายในวัดมีพระอุโบสถเก่าอยู่ทางทิศตะวันออก ส่วนพระอุโบสถใหม่นั้นราษฎรเรี่ยไรเงินกันสร้างขึ้นอยู่ทางทิศตะวันตก
                  จุดเด่นของวัดที่เห็นได้ชัดคือ กลางตระพังเป็นเกาะที่ตั้งของพระเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา ซึ่งยอดและคอระฆังหักพังลงมาแล้ว มีสะพานไม้ขนาดใหญ่ทอดข้ามไปยังเกาะนี้ บนเกาะมีมณฑปสร้างใหม่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ซึ่งปรากฏในจารึกสุโขทัยหลักที่ 8 ศิลาจารึกเขา สุมนกูฎว่า พระมหาธรรมราชาลิไทโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแบบรอยพิมพ์จากลังกาใน พ.ศ. 1902 และให้นำไปประดิษฐาน ณ ภูเขาทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัย เรียกว่า เขาสุมนกูฎ ดังในลังกาทวีป (ปัจจุบันเรียกว่า เขาพระบาทใหญ่) มีงานนมัสการพระบาทนี้เป็นประจำทุกปี

 

วัดพระพายหลวง

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264322.jpg

                  อยู่ใกล้กับศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ ก่อสร้างก่อนการตั้งเมืองสุโขทัย มีความสำคัญเป็นอันดับสอง รองจากวัดมหาธาตุ เพราะมีรูปแบบศิลปกรรมตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของสุโขทัย  และมีการสร้างเพิ่มในสมัยสุโขทัยตอนปลาย  วัดพระพายหลวงจึงเป็นแหล่งรวมงานศิลปกรรมหลายยุคหลายสมัย ผังบริเวณวัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีคูน้ำล้อมรอบ 3 ชั้น คูชั้นนอกเรียก คูแม่โจน มีปรางค์ศิลาแลง 3 องค์เป็นประธานของวัด  องค์กลางและองค์ด้านทิศใต้พังเหลือแต่ฐาน  เหลือเพียงองค์ด้านเหนือ  หน้าบันประดับลายปูนปั้นเป็นศิลปะสมัยสุโขทัยตอนต้นที่งดงามมาก  สันนิษฐานว่าสร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นศิลปะขอมสมัยบายน (รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7) บริเวณหน้าปรางค์มีวิหารที่เหลือเพียงเสาใหญ่ศิลาแลง ถาวรวัตถุที่สร้างเสริมต่อขยายออกไปทางด้านหน้าของพระปรางค์สามองค์ เช่น เจดีย์เหลี่ยมที่เหลือเพียงยอดปรักหักพัง และมณฑปประดิษฐานพระพุทธรูปสี่อิริยาบท ได้แก่ นั่ง ยืน เดิน และนอน ปัจจุบันปรักหักพังลงเกือบหมด

 

วัดศรีชุม

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264554.jpg

                  ตั้งอยู่ในบริเวณที่มีคูน้ำล้อมรอบนอกเมืองเก่าสุโขทัยทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นวัดที่แปลกที่สุดเพราะผู้สร้างมีความคิดลึกซึ้งและมีความคิดก้าวไกล หากมองผิวเผินเพียงภายนอกจะมองเห็นมณฑปมีพระพุทธรูปประทับนั่งอยู่ตรงกลางเพียงองค์หนึ่ง แต่ที่แท้จริงมณฑปหลังนี้มีผนังหนามากก่ออิฐเป็นกำแพง 2 ชั้นมีบันไดเป็นขั้นๆ ขึ้นสู่ยอดมณฑปได้ เรามักเรียกกันว่า อุโมงค์วัดศรีชุม มีทางเข้าทั้งด้านซ้ายและด้านขวา แต่ทางด้านซ้ายเท่านั้นที่เข้าไปได้ถึงช่องลมด้านข้างและช่องหลังพระเศียรพระพุทธรูป
หากออกไปแอบอยู่ทางช่องนี้แล้วพูดออกมาดังๆ ผู้ที่อยู่ในวิหารก็อาจเข้าใจว่าพระพุทธรูปพูดได้

 

เตาทุเรียง

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192264874.jpg

                  เตาทุเรียง เป็นชื่อเรียกเตาเผาถ้วยชามสังคโลกสมัยสุโขทัย เตาทุเรียงที่สำรวจพบมีอยู่ 3 บริเวณด้วยกัน คือ เตาทุเรียงบริเวณเมืองเก่าสุโขทัย เตาทุเรียงป่ายาง และเตาทุเรียงเกาะน้อย ที่อำเภอศรีสัชนาลัย เตาทุเรียงบริเวณเมืองเก่าสุโขทัยเป็นเนินดินอยู่ระหว่างวัดศรีชุมและ วัดพระพายหลวง ชาวบ้านเรียกกันว่า เนินร่อนทอง บริเวณนี้นักโบราณคดีได้พบเตาเผาสังคโลกไม่น้อยกว่า 49 เตา เต็มไปด้วยร่องรอยมูลดินกับเศษถ้วยชามสังคโลก เตาแบบนี้เป็นเตาเผาแบบอิฐ กว้าง 1.50-2.00 เมตร ยาว 4-5 เมตร ทำเป็นรูปคล้ายประทุนเกวียนแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ที่ใส่ไฟ ที่วางถ้วยชาม และปล่องไฟ

 

วัดเชตุพน

 

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265119.jpg

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265146.jpg

                  อยู่ห่างจากเขตเมืองชั้นในประมาณ 2 กม. เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่มีคูน้ำล้อมรอบ สวยงามด้วยเทือกเขาหลวงเป็นฉากหลัง ลักษณะเด่นของโบราณสถานแห่งนี้ คือ พระพุทธรูปสี่อิริยาบทขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่ในมณฑปหินชนวน ซึ่งสามารถมองเห็นได้แต่ไกล ผนังด้านทิศเหนือของมณฑปเป็นพระพุทธรูปประทับนั่ง ด้านทิศใต้เป็นพระพุทธรูปประทับนอน ด้านทิศตะวันออกเป็นพระพุทธรูปลีลา ด้านทิศตะวันตกเป็นพระพุทธรูปประทับยืน  ปัจจุบันพระพุทธรูปประทับนั่งและพระพุทธรูปประทับนอนหักพังเสียหายหมด  เหลือแต่พระพุทธรูปประทับยืน และพระพุทธรูปลีลา ซึ่งก็ไม่สมบูรณ์เต็มองค์ ส่วนอื่นของวัดประกอบด้วยกำแพงแก้วล้อมมณฑปโดยทำจากหินชนวนที่มีขนาดใหญ่และหนา โดยมีการสกัดและบากหินเพื่อทำเป็นกรอบและซี่กรงเลียนแบบเครื่องไม้  ด้านหลังมณฑปใหญ่มีมณฑปขนาดเล็กย่อมุมไม้ยี่สิบ  มีหลังคาก่อซ้อนกันเป็นเสา  แลใช้หินชนวนขนาดใหญ่ทำเป็นเพดาน  ยังปรากฏร่องรอยของพระพุทธรูปปางมารวิชัย แต่ชำรุดมากแล้ว ที่ผนังด้านนอกมีร่องรอยภาพเขียนสีดำลายพรรณพฤกษาอยู่บนกรอบประตู ด้านหน้าเป็นพระวิหารเสากลมสองแถว

                  ไม่ปรากฏหลักฐานว่าวัดนี้สร้างในสมัยใด แต่มีกล่าวอ้างถึงในจารึกวัดสรศักดิ์ ซึ่งบันทึกเหตุการณ์กลางพุทธศตวรรษที่ 20 จากข้อความที่ระบุชื่อวัดเชตุพน ประกอบกับรูปแบบทางศิลปะกรรม แสดงให้เห็นว่า วัดเชตุพนคงเป็นวัดที่มีความสำคัญและเจริญร่งเรืองในช่วงสุโขทัยตอนปลาย หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งคือ มีการพบจารึกวัดเชตุพน ที่วัดนี้กล่าวถึงเจ้าธรรมรังษีซึ่งบวชได้ 22 พรรษา เป็นผู้มีจิตศรัทธาสร้างพระพุทธรูปขึ้นในพ.ศ. 2057

 

วัดเจดีย์สี่ห้อง

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265401.jpg

                  ตั้งอยู่ทางตะวันออกของวัดเชตุพน ห่างไปราว 100 เมตร นอกจากวิหาร เจดีย์ประธาน และเจดีย์รายต่างๆ แล้ว สิ่งที่โดดเด่นที่สุดในวัดนี้ คือ รูปปูนปั้นอันงดงามที่ประดับอยู่รอบฐานเจดีย์ประธาน เป็นรูปเทวดา สวมอาภรณ์และเครื่องประดับต่างๆ กัน ในมือถือภาชนะมีพรรณพฤกษาโผล่พ้นออกมา แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ ความเจริญงอกงาม ภาชนะนี้เรียกว่า หม้อปูรณะฆฎะ นอกจากนี้ก็เป็นปูนปั้นรูปช้างและสิงห์ประดับ องค์เจดีย์ประธานที่ได้รับการบูรณะมาแล้วหลายสมัย เป็นทรงระฆังกลม ส่วนยอดเจดีย์ได้หักพังลง คงปรากฏแต่ส่วนปล้องไฉนตกอยู่ที่ฐานเจดีย์

 

วัดตระพังทองหลาง

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192265964.jpg

                  อยู่ริมถนนจรดวิถีถ่อง เยื้องกับวัดช้างล้อม มีมณฑปขนาดกลางที่งดงามที่สุด ด้านหน้ามณฑปมีฐานวิหารเสาศิลาแลง สิ่งที่น่าชมของวัดตระพังทองหลางคือ ศิลปกรรมปูนปั้นบนผนังทั้งสามด้านของมณฑปรูปสี่เหลี่ยม มณฑปด้านทิศตะวันออกเป็นซุ้มประตู อีกสามด้านเป็นผนังที่ประดับด้วยรูปปูนปั้นที่ชำรุดเกือบหมดแล้ว เป็นเรื่องตามพุทธประวัติ ดังนี้
                  ผนังด้านเหนือ  เป็นภาพพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าทรมานช้างชื่อ นาฬาคีรี  ปั้นเป็นรูปพระพุทธองค์ประทับยืนเคียงข้างด้วยพระอัครสาวก คือ พระอานนท์ ที่ปลายพระบาทของพระพุทธเจ้ามีร่องรอยปูนปั้นรูปหัวเข่าช้างคุกเข่ายอมแพ้
                  ผนังด้านใต้ เป็นภาพพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีพระอินทร์ พระพรหม และ ทวยเทพตามเสด็จมาส่ง ปัจจุบันภาพพิมพ์ที่ถอดจากภาพปูนปั้นนี้จัดแสดงอยู่ใน พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติรามคำแหง
                  ผนังด้านตะวันตก เป็นภาพพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าประทานเทศนาโปรดพระบิดากับกษัตริย์ศากยวงศ์ ขณะทรงสั่งสอนทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์ เป็นรูปรัศมีเปลวไฟล้อมรอบพระพุทธองค์ และมีรูปบรรดาพระญาติแวดล้อมอยู่ภายนอกรูปรัศมีนั้น 
                  ภาพปูนปั้นเหล่านี้แสดงถึงลักษณะศิลปกรรมสมัยสุโขทัยที่เจริญสูงสุด หรือที่เรียกว่า ยุคทองของศิลปะสมัยสุโขทัย ซึ่งมีอายุอยู่ในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 20

 

วัดสะพานหิน

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192266637.jpg

                  ตั้งอยู่บนเนินเขาที่มีความสูง 200 เมตร  ซื่อวัดเรียกตามลักษณะทางที่ปูลาดด้วยหินชนวนจากตีนเขาขึ้นไปเป็นระยะทาง 300 เมตร ก่อนถึงตัววัดบนเนินลาดมีเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ขนาดเล็ก บนยอดเนินเป็นวิหารพระยืน ผนังรับองค์พระก่อด้วยอิฐ พระวิหารใช้เสาศิลา ปัจจุบันปรักหักพังมาก  สิ่งสำคัญในวัด  คือ  พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย มีขนาดใหญ่สูง 12.50 เมตร เรียกว่า พระอัฎฐารส ซึ่งหมายถึงพระพุทธรูปประทับยืน ที่นิยมสร้างกันในสมัยสุโขทัย สันนิษฐานกันว่า พระอัฎฐารสนี้ คือพระพุทธรูปยืนขนาดใหญ่ที่ศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงเมืองสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชว่า "ในกลางอรัญญิก มีพิหารอันณึ่งมนใหญ่ สูงงามแก่กม มีพระอัฎฐารสอันณึ่งลุกยืน" และสันนิษฐานอีกว่า วัดสะพานหินนี้น่าจะเป็นวัดที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงช้างเผือกชื่อ รูจาคีรี ขึ้นไปนบพระทุกวันข้างขึ้น 15 ค่ำและข้างแรม 15 ค่ำ

 

วัดเขาพระบาทน้อย

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192266896.jpg 

                  อยู่นอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก ห่างจากประตูอ้อประมาณ 2.7 กิโลเมตร  อยู่บนเนินเขาเตี้ย สูงประมาณ 150 เมตร วัดนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดพระบาทน้อย โบราณสถานที่สำคัญ คือ เจดีย์ทรงจอมแห ซึ่งมีรูปลักษณะแปลกไปจากเจดีย์แบบอื่นๆ ที่พบกันทั่วไป  มีปรากฏที่วัดเขาพระบาทน้อยเพียงองค์เดียวในเมืองสุโขทัย  ลักษณะของตัวเจดีย์เป็นรูประฆัง  แต่ก่อเป็นริ้วๆ  ลักษณะคล้ายแห จึงเรียกกันว่า  เจดีย์ทรงจอมแหฐานของเจดีย์เป็นฐานบัว 3 วั้น  ชั้นที่สามมีซุ้มคูหา 4  ทิศประดิษฐานพระพุทธรูปข้างใน ด้านหน้าเจดีย์ทรงจอมแหมีวิหารประดิษฐานรอยพระพุทธบาท 4 รอย (ปัจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง) ด้านหลังมีกุฏิสงฆ์ก่อด้วยศิลาปนอิฐ

 

วัดมังกร

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192267048.jpg

                  อยู่กลางถนนที่จะเข้าเมืองสุโขทัยทางประตูอ้อ เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของกลุ่มวัดทางทิศตะวันตก มีวิหารขนาดใหญ่ เสาแปดเหลี่ยม ชื่อ วัดมังกร อาจมาจากรูปมังกรที่พันอยู่รอบฐานของวิหาร และรูปมังกรมีเกล็ดทำด้วยกระเบื้องเคลือบ ปัจจุบันรูปมังกรรอบฐานวิหารไม่ปรากฏแล้ว เมื่อครั้งกรมศิลปากรขุดแต่งวัดนี้ พบกระเบื้องเคลือบมากมาย และยังเครื่องสังคโลก รูปพญาครุฑจับนาคที่สวยงามมาก (ปัจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง)  ส่วนหนึ่งของโบราณสถานที่ยังคงอยู่  คือ  กำแพงแก้วทำด้วยเครื่องสังคโลกเคลือบสีขาว และเจดีย์ 2 องค์ องค์หนึ่งยังสมบูรณ์อยู่คือมีทั้งฐาน และตัวเจดีย์ทรงลังกา และยอดเป็นปล้องไฉน อีกองค์หนึ่งเป็นเจดีย์ทรงลังกาเหมือนกับองค์แรก แต่มีขนาดใหญ่กว่าและยอดเจดีย์ปรักหักพังลง

 

สรีดภงส์

http://www.siamfreestyle.com/forum_classic/uploads/post-1-1192267268.jpg

                 สรีดภงส หรือ ทำนบพระร่วง เป็นทำนบดินกั้นระหว่างเขากิ่วอ้ายมา กับเขาพระบาทใหญ่ ซึ่งสันนิษฐานว่าในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือที่ทำนบที่ใช้เก็บกักน้ำจากโซกต่างๆ ตามบริเวณเขาถึง 17 โซก โดยมีลำรางระบายน้ำส่งเข้าตัวเมือง และเก็บกักน้ำไว้ในสระใหญ่และสระเล็กโดยเฉพาะสระน้ำตามวัดต่างๆ หรือ ตระพัง เช่น ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังสอ เป็นต้น
                 สรีดภงสในปัจจุบันได้รับการปรับปรุงขึ้นใหม่ ให้เป็นเขื่อนดินมีความสูงและแข็งแรงกว่าเดิม คือสูงประมาณ 10 เมตร และสามารถกักเก็บน้ำได้ถึง 400,000 ลูกบาศก์เมตร

 

สร้างโดย: 
นางสาว ชยาดา ฟองทิพย์สุคนธ์ ม.6/7 เลขที่ 5

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 431 คน กำลังออนไลน์