• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:02f83886c05f6e30ae532da90ff48203' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"526\" src=\"/files/u20248/ban.gif\" height=\"160\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45238\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"183\" src=\"/files/u20248/sur1.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/45257\"><img border=\"0\" width=\"196\" src=\"/files/u20248/surthai-kr.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/45278\"><img border=\"0\" width=\"158\" src=\"/files/u20248/teenage.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/50162\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/head-sur.jpg\" height=\"40\" /></a>\n</p>\n<p>\n              <a href=\"/node/45291\"><img border=\"0\" width=\"257\" src=\"/files/u20248/choose.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/47312\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/assist.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/50171\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/name.jpg\" height=\"40\" /></a> <a href=\"/node/43028\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u20248/home_icon1.gif\" height=\"90\" style=\"width: 86px; height: 73px\" /></a> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nเสริมทรวงอก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333300; background-color: #ffcc99\">เสริมทรวงอก (Breast augmentation)</span>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #bd8abc\">การผ่าตัดเสริมขนาดทรวงอกมีชื่อทางการแพทย์ว่า &quot;Mammoplasty&quot; เป็นกระบวนการผ่าตัดเพิ่มขนาดทรวงอก หรือแก้ไขรูปร่างของทรวงอกให้เป็นไปตามความต้องการของคนไข้ โดยกระบวนการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพิ่มความมั่นใจสำหรับผู้ที่มีหน้าอกเล็กเกินไป ทำให้ขนาดของหน้าอกกลับมาสมบูรณ์ดังเดิม หลังจากการมีบุตร เนื่องจากบางท่านหน้าอกอาจเล็กลงหลังจากการมีบุตรได้ นอกจากนี้ยังแก้ไขรูปร่างทรวงอกที่ผิดปกติ เช่นผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมะเร็ง หรือเนื้องอกเต้านม หน้าอกไม่ได้รูปให้สวยงามขึ้น รวมไปถึงเพื่อแก้ไขหน้าอกที่หย่อนคล้อย และทรวงอกที่สูญเสียความเต่งตึงให้กลับมา เต่งตึงดังเดิม</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n          <span style=\"color: #993300\">ผู้ที่เหมาะสมที่สุดที่จะรับการผ่าตัดเสริมทรวงอก คือผู้ที่กำลังต้องการปรับปรุงทรวงอกของตนให้ดูดีขึ้น อย่างไรก็ตามการผ่าตัดนี้ไม่เหมาะกับผู้ที่มีสุขภาพไม่แข็งแรง หรือมีโรคประจำตัว ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า การเสริมทรวงอกเทียมด้วยถุงซิลิโคน เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเต้านม</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n          <span style=\"color: #808000\">นอกจากนี้ คุณควรจะทราบว่า การตั้งครรภ์ จะทำให้ขนาดของทรวงอกเปลี่ยนแปลงไปได้ และอาจจะส่งผลต่อรูปร่างทรวงอกที่เสริมได้บ้าง แต่ไม่มีรายงานใดกล่าวว่า การเสริมทรวงอกด้วยถุงซิลิโคน มีผลต่อการตั้งครรภ์ คุณสามารถให้นมบุตรได้ตามปกติ</span> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><strong>วัสดุที่ใช้</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">1. ตัวถุงปัจจุบันทำด้วยซิลิโคนมี 2 ลักษณะใหญ่ๆที่ยอมรับและอนุญาตให้ใช้โดยปลอดภัย คือแบบเรียบ ( smooth mammary prostheses ) และแบบขรุขระหรือบางทีเรียกผิวทราย ( textured mamary prostheses ) แบบขรุขระสร้างขึ้นมาเพื่อลดปัญหาการหดรั้งรอบถุงหลังการเสริมอย่างไรก็ตามปัญหาดังกล่าวไม่ใช่เกิดจากปัจจัยเดียว  ดังนั้นการเลือกใช้ส่วนหนึ่งก็ขึ้นกับประสบการณ์ของแพทย์ด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<br />\nถุงซิลิโคน พร้อมสายเติมน้ำเกลือ  และ ถุงซิลิโคน บรรจุซิลิโคนเจล\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"180\" src=\"/files/u20248/augmam91.jpg\" height=\"118\" />           \n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา : <a href=\"http://www.2plastic.com/sur/image/augmam91.jpg\">http://www.2plastic.com/sur/image/augmam91.jpg</a>                             \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"171\" src=\"/files/u20248/augmam92.jpg\" height=\"118\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา : <a href=\"http://www.2plastic.com/sur/image/augmam92.jpg\">http://www.2plastic.com/sur/image/augmam92.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><strong>2. สารที่ใส่ข้างในถุง มี 2 สาร คือ</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">- น้ำเกลือ ( Saline filled breast implants ) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ข้อดี <br />\n1. ถ้าเกิดการรั่วซึ่งมักจะเป็นตำแหน่งรอยต่อของท่อฉีดน้ำเกลือ จะทราบทันที และไม่มีอันตรายใดๆ เพราะร่างกายสามารถดูดซึมได้หมด<br />\n2. เมื่อมีท่อฉีดน้ำเกลือ ดังนั้นระหว่างที่ทำจะสามารถปรับขนาดได้ตามที่ต้องการ เช่นกรณีที่เต้านมทั้งสองข้างมีขนาดที่ไม่เท่ากันตั้งแต่ก่อนเสริม จะใช้ถุงขนาดเดียวกันแต่ใส่ปริมาณน้ำเกลือที่แตกต่างกันเล็กน้อยได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ข้อเสีย <br />\n1. มีรอยต่อระหว่างถุงกับท่อที่ใช้ฉีดน้ำเกลือ ทำให้มีโอกาสรั่วบริเวณดังกล่าว                                                                   2. ในช่วง 1 สัปดาห์แรกเวลาคลำจะรู้สึกไม่นิ่มเท่าแบบถุงเจล หลังจากนั้นจะดีขึ้นจนไม่แตกต่างกัน</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">- ซิลิโคนเหลว ( Silicone gel filled breast implants ) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">ข้อดี <br />\n1. ไม่มีรอยต่อใดๆให้เกิดการรั่ว ยกเว้นการรั่วซึมจากผิวถุง แม้จะมีการปรับปรุงผิวให้เกิดการรั่วน้อยที่สุดแล้วก็ตาม<br />\n2. หลังใส่เวลาคลำจะรู้สึกนิ่มกว่าแบบถุงน้ำเกลือ ในระยะยาวไม่แตกต่าง<br />\n3. ราคาเท่ากันหรือถูกกว่าขึ้นกับบริษัทที่ผลิต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">ข้อเสีย<br />\n1. มีขนาดแน่นอน ไม่สามารถปรับขนาดที่แตกต่างกันเล็กน้อยระหว่างการเสริมได้<br />\n2. หากมีการรั่วซึม ซึ่งมักจะเป็นไปอย่างช้าๆ ดังนั้นจะทราบว่ารั่วเมื่อเกิดผลที่ตามมาคือ เกิดการหดรั้งรอบถุงทำให้เนื้อเยื่อเต้านมหดรัดเป็นกระเปาะ ถ้าซึมถึงเนื้อเยื่อเต้านมจะทำให้เต้านมเป็นพังผืดผิดรูป การผ่าตัดแก้ไขให้ดีเหมือนปกติทำได้ลำบาก</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">- มีการดัดแปลงใช้ถุงเป็น 2 ชั้น ซิลิโคนอยู่ชั้นใน และหุ้มรอบนอกด้วยถุงน้ำเกลือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">ข้อดี <br />\n1. หากซิลิโคนรั่วจะอยู่ในถุงน้ำเกลือไม่ซึมเข้าเนื้อเยื่อ <br />\n2. มีความนิ่มมากกว่าถุงน้ำเกลืออย่างเดียว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">ข้อเสีย <br />\n1. ราคาแพง</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\">หมายเหตุ ยังมีถุงอีกหลายลักษณะที่มีการผลิตมาใช้ โดยการดัดแปลงรูปร่าง และลักษณะของถุง รวมทั้งสารในถุง แต่มีข้อแม้คือยังไม่ได้รับการอนุญาตจากองค์การอาหารและยาในประเทศไทย รวมทั้งราคาที่ค่อนข้างสูง</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #6588aa\">การเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #86b3e0\"><span style=\"color: #6588aa\">• โปรดแจ้งประวัติการแพ้ยา ยาหรืออาหารเสริมที่ใช้ในปัจจุบันก่อนเข้ารับการผ่าตัด<br />\n• หากมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หอบ โรคหัวใจ ควรปรึกษาแพทย์ที่ดูแลและแจ้งแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดด้วย และห้ามงดยาควบคุมความดัน ยาควบคุมเบาหวาน รวมถึงยาเพื่อการรักษาโรคประจำตัวเดิม<br />\n• รับการตรวจสภาพร่างกาย ตรวจเต้านมหาความผิดปกติก่อนผ่าตัด<br />\n• งดแอสไพริน (aspirin), ไอบิวโพรเฟน (ibuprofen) และวิตามินอี ประมาณ 2 อาทิตย์ก่อนเข้ารับการผ่าตัด<br />\n• งดสูบบุหรี่ก่อน-หลังผ่าตัด 2 อาทิตย์ <br />\n• เตรียมเสื้อเชิ้ตที่มีกระดุมหน้า เพื่อง่ายต่อการสวมใส่</span> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">การผ่าตัด และชนิดของยาระงับความรู้สึก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">          การผ่าตัดเสริมทรวงอก ใช้การวางยาสลบ เพื่อให้หลับตลอดกระบวนการผ่าตัด สำหรับกระบวนการใส่ถุงเต้านมเทียมเพื่อเสริมทรวงอกนั้น อาจใส่ไว้ใต้กล้ามเนื้อหน้าอก หรืออยู่บนกล้ามเนื้อหน้าอกก็ได้มีบาดแผลการผ่าตัดขนาดน้อยกว่า 2 นิ้ว ถูกกำหนดวางไว้ที่รอยย่นใต้รักแร้ รอบปานนมหรือฐานเต้านมก็ได้ เมื่อผ่าตัดผ่านผิวหนังไปแล้ว แพทย์จะสร้างช่องใต้เต้านมหรือใต้กล้ามเนื้อทรวงอกเพื่อที่จะใส่ถุงเต้านมเทียม เข้าไป โดยปกติการผ่าตัดจะใช้เวลาประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง</span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20248/breast_0.jpg\" height=\"566\" style=\"width: 137px; height: 302px\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา : <a href=\"http://www.laser-surgery-bangkok.com/thai/before-after/BreastLift/breast.jpg\">http://www.laser-surgery-bangkok.com/thai/before-after/BreastLift/breast.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ภาวะแทรกซ้อน หรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการผ่าตัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">• ไม่มีปัญหาใหญ่ ใดๆ มากนักในการผ่าตัดเสริมทรวงอก แต่การผ่าตัดทุกชนิดย่อมมีอัตราเสี่ยงเสมอ เช่นเดียวกันการผ่าตัดเสริมทรวงอกอาจจะเกิดเลือดคั่งรอบๆ เต้านมเทียม ซึ่งอาจจะต้องผ่าหรือดูดออก การติดเชื้อ ตำแหน่งที่ผิดของเต้านมเทียมเกิดขึ้นได้ ประการสำคัญคือ การเกิดพังผืดรัด (capsular contracture) รอบๆ ถุงซิลิโคน อาจทำให้คุณเจ็บ หรือเต้านมผิดรูปร่างได้ คุณจะได้รับการแนะนำอย่างเข้มงวดในการนวดอย่างสม่ำเสมอเพื่อการป้องกันเหตุการณ์ดังกล่าว<br />\n• มีอาการชาบริเวณที่หน้าอก และ หัวนมได้ ซึ่งจะหายไปได้เอง</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003300\">การดูแลหลังการผ่าตัด และการพักฟื้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003300\">• เพื่อให้แผลหายเร็วขึ้น และป้องกันการแข็งตัวเป็นแคปซูล หลังการผ่าตัด แพทย์จะใส่สายระบายน้ำและเลือดที่คั่งอยู่ภายในออกมาจากบริเวณทรวงอก ซึ่งจะพิจารณาให้เอาออกได้ประมาณ 3 วันหลังการผ่าตัด<br />\n• งดทำงานหนัก หรือออกกำลังกายหนักในช่วง 4-6 สัปดาห์หลังจากการผ่าตัด<br />\n• ต้องสวมผ้ายืดรัดหน้าอกไว้จนกระทั่งแพทย์พิจารณาให้เอาออกได้ <br />\n• คุณอาจรู้สึกตึงแน่น และปวดเมื่อยบริเวณหน้าอกเป็นเวลาสองสามวันหลังได้รับการผ่าตัด <br />\n• ประมาณหนึ่งสัปดาห์จึงตัดไหมผ่าตัด แต่ร่องรอยจากการผ่าตัดจะหายไปในเวลาสามถึงห้าสัปดาห์</span>\n</p>\n', created = 1718593874, expire = 1718680274, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:02f83886c05f6e30ae532da90ff48203' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเสริมทรวงอก

 

                

 

เสริมทรวงอก

เสริมทรวงอก (Breast augmentation)

          การผ่าตัดเสริมขนาดทรวงอกมีชื่อทางการแพทย์ว่า "Mammoplasty" เป็นกระบวนการผ่าตัดเพิ่มขนาดทรวงอก หรือแก้ไขรูปร่างของทรวงอกให้เป็นไปตามความต้องการของคนไข้ โดยกระบวนการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพิ่มความมั่นใจสำหรับผู้ที่มีหน้าอกเล็กเกินไป ทำให้ขนาดของหน้าอกกลับมาสมบูรณ์ดังเดิม หลังจากการมีบุตร เนื่องจากบางท่านหน้าอกอาจเล็กลงหลังจากการมีบุตรได้ นอกจากนี้ยังแก้ไขรูปร่างทรวงอกที่ผิดปกติ เช่นผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมะเร็ง หรือเนื้องอกเต้านม หน้าอกไม่ได้รูปให้สวยงามขึ้น รวมไปถึงเพื่อแก้ไขหน้าอกที่หย่อนคล้อย และทรวงอกที่สูญเสียความเต่งตึงให้กลับมา เต่งตึงดังเดิม


          ผู้ที่เหมาะสมที่สุดที่จะรับการผ่าตัดเสริมทรวงอก คือผู้ที่กำลังต้องการปรับปรุงทรวงอกของตนให้ดูดีขึ้น อย่างไรก็ตามการผ่าตัดนี้ไม่เหมาะกับผู้ที่มีสุขภาพไม่แข็งแรง หรือมีโรคประจำตัว ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า การเสริมทรวงอกเทียมด้วยถุงซิลิโคน เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเต้านม


          นอกจากนี้ คุณควรจะทราบว่า การตั้งครรภ์ จะทำให้ขนาดของทรวงอกเปลี่ยนแปลงไปได้ และอาจจะส่งผลต่อรูปร่างทรวงอกที่เสริมได้บ้าง แต่ไม่มีรายงานใดกล่าวว่า การเสริมทรวงอกด้วยถุงซิลิโคน มีผลต่อการตั้งครรภ์ คุณสามารถให้นมบุตรได้ตามปกติ 

 

วัสดุที่ใช้

1. ตัวถุงปัจจุบันทำด้วยซิลิโคนมี 2 ลักษณะใหญ่ๆที่ยอมรับและอนุญาตให้ใช้โดยปลอดภัย คือแบบเรียบ ( smooth mammary prostheses ) และแบบขรุขระหรือบางทีเรียกผิวทราย ( textured mamary prostheses ) แบบขรุขระสร้างขึ้นมาเพื่อลดปัญหาการหดรั้งรอบถุงหลังการเสริมอย่างไรก็ตามปัญหาดังกล่าวไม่ใช่เกิดจากปัจจัยเดียว  ดังนั้นการเลือกใช้ส่วนหนึ่งก็ขึ้นกับประสบการณ์ของแพทย์ด้วย


ถุงซิลิโคน พร้อมสายเติมน้ำเกลือ  และ ถุงซิลิโคน บรรจุซิลิโคนเจล

           

แหล่งที่มา : http://www.2plastic.com/sur/image/augmam91.jpg                             

แหล่งที่มา : http://www.2plastic.com/sur/image/augmam92.jpg

 

2. สารที่ใส่ข้างในถุง มี 2 สาร คือ

- น้ำเกลือ ( Saline filled breast implants )

ข้อดี
1. ถ้าเกิดการรั่วซึ่งมักจะเป็นตำแหน่งรอยต่อของท่อฉีดน้ำเกลือ จะทราบทันที และไม่มีอันตรายใดๆ เพราะร่างกายสามารถดูดซึมได้หมด
2. เมื่อมีท่อฉีดน้ำเกลือ ดังนั้นระหว่างที่ทำจะสามารถปรับขนาดได้ตามที่ต้องการ เช่นกรณีที่เต้านมทั้งสองข้างมีขนาดที่ไม่เท่ากันตั้งแต่ก่อนเสริม จะใช้ถุงขนาดเดียวกันแต่ใส่ปริมาณน้ำเกลือที่แตกต่างกันเล็กน้อยได้

ข้อเสีย
1. มีรอยต่อระหว่างถุงกับท่อที่ใช้ฉีดน้ำเกลือ ทำให้มีโอกาสรั่วบริเวณดังกล่าว                                                                   2. ในช่วง 1 สัปดาห์แรกเวลาคลำจะรู้สึกไม่นิ่มเท่าแบบถุงเจล หลังจากนั้นจะดีขึ้นจนไม่แตกต่างกัน

 

- ซิลิโคนเหลว ( Silicone gel filled breast implants )

ข้อดี
1. ไม่มีรอยต่อใดๆให้เกิดการรั่ว ยกเว้นการรั่วซึมจากผิวถุง แม้จะมีการปรับปรุงผิวให้เกิดการรั่วน้อยที่สุดแล้วก็ตาม
2. หลังใส่เวลาคลำจะรู้สึกนิ่มกว่าแบบถุงน้ำเกลือ ในระยะยาวไม่แตกต่าง
3. ราคาเท่ากันหรือถูกกว่าขึ้นกับบริษัทที่ผลิต

ข้อเสีย
1. มีขนาดแน่นอน ไม่สามารถปรับขนาดที่แตกต่างกันเล็กน้อยระหว่างการเสริมได้
2. หากมีการรั่วซึม ซึ่งมักจะเป็นไปอย่างช้าๆ ดังนั้นจะทราบว่ารั่วเมื่อเกิดผลที่ตามมาคือ เกิดการหดรั้งรอบถุงทำให้เนื้อเยื่อเต้านมหดรัดเป็นกระเปาะ ถ้าซึมถึงเนื้อเยื่อเต้านมจะทำให้เต้านมเป็นพังผืดผิดรูป การผ่าตัดแก้ไขให้ดีเหมือนปกติทำได้ลำบาก

 

- มีการดัดแปลงใช้ถุงเป็น 2 ชั้น ซิลิโคนอยู่ชั้นใน และหุ้มรอบนอกด้วยถุงน้ำเกลือ

ข้อดี
1. หากซิลิโคนรั่วจะอยู่ในถุงน้ำเกลือไม่ซึมเข้าเนื้อเยื่อ
2. มีความนิ่มมากกว่าถุงน้ำเกลืออย่างเดียว

ข้อเสีย
1. ราคาแพง

 

หมายเหตุ ยังมีถุงอีกหลายลักษณะที่มีการผลิตมาใช้ โดยการดัดแปลงรูปร่าง และลักษณะของถุง รวมทั้งสารในถุง แต่มีข้อแม้คือยังไม่ได้รับการอนุญาตจากองค์การอาหารและยาในประเทศไทย รวมทั้งราคาที่ค่อนข้างสูง

 

การเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด

• โปรดแจ้งประวัติการแพ้ยา ยาหรืออาหารเสริมที่ใช้ในปัจจุบันก่อนเข้ารับการผ่าตัด
• หากมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หอบ โรคหัวใจ ควรปรึกษาแพทย์ที่ดูแลและแจ้งแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดด้วย และห้ามงดยาควบคุมความดัน ยาควบคุมเบาหวาน รวมถึงยาเพื่อการรักษาโรคประจำตัวเดิม
• รับการตรวจสภาพร่างกาย ตรวจเต้านมหาความผิดปกติก่อนผ่าตัด
• งดแอสไพริน (aspirin), ไอบิวโพรเฟน (ibuprofen) และวิตามินอี ประมาณ 2 อาทิตย์ก่อนเข้ารับการผ่าตัด
• งดสูบบุหรี่ก่อน-หลังผ่าตัด 2 อาทิตย์
• เตรียมเสื้อเชิ้ตที่มีกระดุมหน้า เพื่อง่ายต่อการสวมใส่

 

การผ่าตัด และชนิดของยาระงับความรู้สึก

          การผ่าตัดเสริมทรวงอก ใช้การวางยาสลบ เพื่อให้หลับตลอดกระบวนการผ่าตัด สำหรับกระบวนการใส่ถุงเต้านมเทียมเพื่อเสริมทรวงอกนั้น อาจใส่ไว้ใต้กล้ามเนื้อหน้าอก หรืออยู่บนกล้ามเนื้อหน้าอกก็ได้มีบาดแผลการผ่าตัดขนาดน้อยกว่า 2 นิ้ว ถูกกำหนดวางไว้ที่รอยย่นใต้รักแร้ รอบปานนมหรือฐานเต้านมก็ได้ เมื่อผ่าตัดผ่านผิวหนังไปแล้ว แพทย์จะสร้างช่องใต้เต้านมหรือใต้กล้ามเนื้อทรวงอกเพื่อที่จะใส่ถุงเต้านมเทียม เข้าไป โดยปกติการผ่าตัดจะใช้เวลาประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง

แหล่งที่มา : http://www.laser-surgery-bangkok.com/thai/before-after/BreastLift/breast.jpg

 

ภาวะแทรกซ้อน หรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการผ่าตัด

• ไม่มีปัญหาใหญ่ ใดๆ มากนักในการผ่าตัดเสริมทรวงอก แต่การผ่าตัดทุกชนิดย่อมมีอัตราเสี่ยงเสมอ เช่นเดียวกันการผ่าตัดเสริมทรวงอกอาจจะเกิดเลือดคั่งรอบๆ เต้านมเทียม ซึ่งอาจจะต้องผ่าหรือดูดออก การติดเชื้อ ตำแหน่งที่ผิดของเต้านมเทียมเกิดขึ้นได้ ประการสำคัญคือ การเกิดพังผืดรัด (capsular contracture) รอบๆ ถุงซิลิโคน อาจทำให้คุณเจ็บ หรือเต้านมผิดรูปร่างได้ คุณจะได้รับการแนะนำอย่างเข้มงวดในการนวดอย่างสม่ำเสมอเพื่อการป้องกันเหตุการณ์ดังกล่าว
• มีอาการชาบริเวณที่หน้าอก และ หัวนมได้ ซึ่งจะหายไปได้เอง

 

การดูแลหลังการผ่าตัด และการพักฟื้น

• เพื่อให้แผลหายเร็วขึ้น และป้องกันการแข็งตัวเป็นแคปซูล หลังการผ่าตัด แพทย์จะใส่สายระบายน้ำและเลือดที่คั่งอยู่ภายในออกมาจากบริเวณทรวงอก ซึ่งจะพิจารณาให้เอาออกได้ประมาณ 3 วันหลังการผ่าตัด
• งดทำงานหนัก หรือออกกำลังกายหนักในช่วง 4-6 สัปดาห์หลังจากการผ่าตัด
• ต้องสวมผ้ายืดรัดหน้าอกไว้จนกระทั่งแพทย์พิจารณาให้เอาออกได้
• คุณอาจรู้สึกตึงแน่น และปวดเมื่อยบริเวณหน้าอกเป็นเวลาสองสามวันหลังได้รับการผ่าตัด
• ประมาณหนึ่งสัปดาห์จึงตัดไหมผ่าตัด แต่ร่องรอยจากการผ่าตัดจะหายไปในเวลาสามถึงห้าสัปดาห์

สร้างโดย: 
น.ส.จริยา วัฒนาพงษากุล และ คุรครูขนิษฐา ยั่งยืน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กทม.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 824 คน กำลังออนไลน์