• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:51176da6a88bc554437af0d6b8734a65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"526\" src=\"/files/u20248/ban.gif\" height=\"160\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45238\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"183\" src=\"/files/u20248/sur1.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/45257\"><img border=\"0\" width=\"196\" src=\"/files/u20248/surthai-kr.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/45278\"><img border=\"0\" width=\"158\" src=\"/files/u20248/teenage.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/50162\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/head-sur.jpg\" height=\"40\" /></a>\n</p>\n<p>\n              <a href=\"/node/45291\"><img border=\"0\" width=\"257\" src=\"/files/u20248/choose.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/47312\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/assist.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/50171\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/name.jpg\" height=\"40\" /></a> <a href=\"/node/43028\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u20248/home_icon1.gif\" height=\"90\" style=\"width: 86px; height: 73px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #333300\">การทำศัลยกรรมทางช่องปากเป็นทันตกรรมเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัดเพื่อรักษาความผิดปกติของโรคต่างๆ  อาการบาดเจ็บ และความผิดปกติต่างๆของขากรรไกรและบริเวณใบหน้า  ซึ่งแพทย์จะทำการวินัจฉัยและวางแผนการรักษาก่อนที่จะเริ่มทำการรักษา</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>ประเภทของการศัลยกรรมทางช่องปาก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\">• การผ่าตัดเพื่อผ่าฟันคุด <br />\n• การผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน <br />\n• การผ่าตัดเพื่อปลูกรากฟันเทียม <br />\n• การผ่าตัดเพื่อปลูกถ่ายกระดูก</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u20248/f58.gif\" height=\"30\" /><br />\n \n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #446a88\"><strong>1. การผ่าตัดเพื่อผ่าฟันคุด</strong>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #446a88\">          ฟันคุดหรือฟันกรามซี่ในสุดจะเป็นฟันชุดสุดท้ายที่จะออกมาในช่วงอายุประมาณ 16-18 ปี และอาจออกมาเต็มที่ในช่วงอายุประมาณ 22-23 ปี โดยปกติแล้ว ฟันกรามชุดสุดท้ายจะมีสี่ซี่ และอยู่บริเวณด้านในสุดถัดจากฟันกราม หากกระดูกขากรรไกรมีขนาดความยาวพอ ฟันเหล่านั้นก็จะออกมาตามปกติ แต่หากกระดูกขากรรไกรมีความยาวไม่พอ มีช่องว่างไม่พอที่จะออกมาหรือเกิดอุปสรรคต่างๆทำให้ฟันไม่สามารถออกมาได้ ฟันเหล่านั้นจะฝังอยู่บริเวณด้านในบริเวณกระดูกขากรรไกรซึ่งจะเรียกว่า ฟันคุด  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #446a88\"><strong>อาการและสาเหตุของฟันคุด</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #446a88\">• อาการปวดบริเวณกระดูกและเหงือก เนื่องจากมีคราบหินปูนและแบคทีเรียบริเวณ ซอกฟัน และซอกเหงือก และทำให้เกิดโรคเหงือก <br />\n• อาการปวดบริเวณเหงือกทำให้เหงือกมีการอักเสบติดเชื้อ จึงส่งผลให้บริเวณฟันคุดมีอาการปวด <br />\n• อาจมีอาการปวดหัว ปวดหู บวมบริเวณหน้าและลำคอ <br />\n• อาจเกิดต่อมน้ำหรือก้อนซีสบริเวณเหงือก ซึ่งอาจส่งผลให้เป็นอันตรายต่อบริเวณกระดูก ของฟันซี่ใกล้เคียง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #446a88\">หมายเหตุ : ผู้ป่วยแต่ละบุคคลจะมีอาการและสาเหตุต่างกัน   ดังนั้นคนไข้จึงควรปรึกษาทันตแพทย์ เพื่อวินิจฉัยและหาวิธีการรักษาที่เหมาะสม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #446a88\"><strong>ข้อดีของการผ่าฟันคุด</strong> <br />\n          การผ่าตัดเพื่อนำฟันคุดออกมา  ควรทำการรักษาก่อนที่จะมี อาการเจ็บปวดบริเวณฟันคุด  เนื่องจากหากรอให้ถึงเวลาเจ็บปวด  กระดูกขากรรไกรอาจมีการเจริญเติบโตและแข็งแรงเต็มที่  ซึ่งอาจทำให้ มีความยากลำบากต่อการรักษา รวมถึงอาจเกิดโรคอื่นๆแทรกซ้อนได้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #419f68\"><strong>2. การผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #419f68\">          การผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน คือการผ่าตัดเพื่อแก้ไขและปรับตำแหน่งของขากรรไกรเพื่อให้โครงหน้าเป็นปกติ ซึ่งอาจมีการจัดฟันร่วมกับการรักษาสภาพของโครงหน้าให้เป็นปกติดียิ่งขึ้นด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #419f68\"><strong>อาการและสาเหตุของการผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกร</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #419f68\">• มีปัญหาในการสบฟัน ทำให้การพูดและออกเสียงผิดปกติ <br />\n• มีปัญหาในการบดเคี้ยว เนื่องจากโครงสร้างของหน้าและฟันผิดปกติ จึงทำให้การบดเคี้ยวเป็น ไปในทางที่ไม่เหมาะสม <br />\n• มีอาการปวดบริเวณขากรรไกร เนื่องจากมีความผิดปกติของรูปร่าง <br />\n• มีความผิดปกติของโครงสร้างฟัน และมีความผิดปกติของการสบฟัน <br />\n• มีความผิดปกติของโครงสร้างของหน้า <br />\n• มีอาการนอนกรน <br />\n <br />\n<strong>ข้อดีของการผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกร</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #419f68\">• ทำให้การออกเสียงและการพูดดีขึ้นและชัดเจนมากขึ้น <br />\n• ทำให้การบดเคี้ยวอาหารต่างๆมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เนื่องจากการสบฟันที่ดีขึ้น <br />\n• ทำให้โครงสร้างของขากรรไกร และโครงสร้างของหน้าได้รูปมาก และเหมาะสมมากยิ่งขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #86a23e\"><strong>3. การผ่าตัดเพื่อปลูกรากฟันเทียม</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #86a23e\">          ทันตกรรมรากฟันเทียมเป็นวิธีการปลูกรากฟันเทียมทดแทนรากฟันจริง เพื่อให้สามารถมีฟันเสมือนจริงได้ดังเดิม โดยการฝังรากฟันเทียมไทเทเนียมลงบนกระดูกรองรับฟัน เพื่อเป็นฐานให้แก่ฟันที่จะสร้างขึ้นมาใหม่ซึ่งอาจเป็นสะพานฟันหรือฟันปลอม ทำให้ฐานของฟันมั่นคงมากยิ่งขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #4a1d5e\"><strong>4. การผ่าตัดเพื่อปลูกถ่ายกระดูก</strong>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #4a1d5e\">          การปลูกถ่ายกระดูกเป็นวิธีการรักษาทางทันตกรรมเพื่อแก้ปัญหาการมีกระดูกขากรรไกร ไม่เพียงพอหรือไม่สมบูรณ์พอที่จะทำการรักษาการปลูกรากฟันเทียม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #4a1d5e\">          ปัจจุบันการปลูกถ่ายกระดูกเป็นวิธีที่มีความสำคัญมาก ซึ่งสามารถเป็นอีกหนึ่งขั้นตอนที่อยู่ในขั้นตอนกระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการปลูกรากฟันเทียม  เช่น  หากมีกระดูกขากรรไกรไม่เพียงพอต่อการรักษาการปลูกรากฟันเทียม  ต้องใช้วิธีนี้ช่วยเสริมก่อนเข้ารับการรักษา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการรักษาอย่างสูงสุด  เนื่องจากคนไข้บางรายมีการเสื่อมสลายของตัวกระดูกรอบรับฟัน หลังจากที่มีการสูญเสียฟันบริเวณนั้นไป  หรือสามารถใช้การปลูกถ่ายกระดูกเพื่อรักษาโครงหน้าได้<br />\nประเภทของการปลูกถ่ายกระดูก</span></p>\n<p><span style=\"color: #785787\">ประเภทของการปลูกถ่ายกระดูกแบ่งตามประเภทของวัสดุที่ใช้  ซึ่งแบ่งเป็น  5 ประเภท ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #785787\">1. เนื้อเยื่อปลูกถ่ายอาตมัน (Autograft หรือ autogenous bone graft) <br />\n2. เนื้อเยื่อปลูกถ่ายเอกพันธุ์ (Allograft หรือ allogenic bone graft หรือ Homograft) <br />\n3. เนื้อเยื่อปลูกถ่ายวิวิธพันธุ์ (Xenograft หรือ xenogenic bone graft) <br />\n4. สารปลูกถ่าย (Alloplast หรือ alloplastic bone graft) <br />\n5. ปัจจัยการเจริญเติบโต (Growth Factors)</span> <br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"436\" src=\"/files/u20248/f46.gif\" height=\"50\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #967040\"><strong>ข้อควรปฏิบัติภายหลังการถอนฟัน ผ่าตัดฟันคุด การผ่าตัดย่อยในช่องปาก</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">1. กัดผ้าก๊อซให้แน่นพอสมควร ประมาณ 1-2 ชม. หรือจนกว่าจะหายชา เมื่อเลือดหยุดแล้วจึงคายออกผ้าก๊อซออก อย่ากัดผ้าก๊อซไว้ตลอดวันตลอดคืน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">2. ถ้าเลือดไหลไม่หยุดให้กัดผ้าก๊อซที่สะอาดต่ออีก 1 ชม. แล้วใช้นำ้แข็งห่อผ้าประคบนอกปากตรงกับบริเวณถอนฟัน ห้ามอมน้ำแข็งในปากเด็ดขาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">3. ห้ามบ้วนปาก บ้วนน้ำลายตลอดวันที่ถอนฟัน ถ้ามีเลือดหรือน้ำลายออกมา ให้กลืนลงคอ จะช่วยให้กัดผ้าก๊อซได้ดี เลือดจะหยุดเร็วขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">4. กรณีผ่าตัดฟันคุด ให้ใช้น้ำแข็งห่อผ้าประคบนอกปาก ตรงตำแหน่งแผลผ่าตัดฟันคุด เมื่อรู้สึกเย็นจัด หรือชาๆ ให้หยุดประคบ รอสักครู่แล้วค่อยเริ่มต้นประคบใหม่ อย่าประคบน้ำแข็งแช่อยู่ตลอดเวลา ประคบน้ำแข็งเป็นระยะๆ ประมาณ 15 นาที โดยทำในระหว่างที่ยังคงกัดผ้าก๊อซในปากอยู่ จะช่วยให้เลือดหยุดดีขึ้น ในวันรุ่งขึ้นให้ใช้น้ำอุ่นประคบนอกปากเป็นระยะๆ ตลอดวันจะช่วยบรรเทาอาการบวมลงได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">5. ขณะที่ยังชาอยู่ ระวังอย่าขบริมฝีปากเล่น จะทำให้เกิดแผลได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">6. ห้ามบ้วนน้ำ หรือน้ำยาบ้วนปากใด ๆ ใน 1-2 วันแรก เพราะจะทำให้ก้อนเลือดที่แผลถอนฟันหลุดออก และเกิดกระดูกเบ้าฟันอักเสบ โดยมีอาการปวดแผลตื้อ ๆ อยู่ตลอดเวลา ในวันต่อมาอาจใช้น้ำยาบ้วนปากหรือน้ำเกลืออุ่น (น้ำอุ่น 1 แก้ว ผสมเกลือแกง 1/2 ช้อนชา) บ้วนปากเบา ๆ โดยเฉพาะภายหลังรับประทานอาหาร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">7. ให้แปรงฟันทำความสะอาดช่องปากตามปรกติ เพียงแต่ระมัดระวังแผลผ่าตัดหรือถอนฟัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">8. ถ้ามีอาการปวดแผลถอนฟันให้รับประทานยาแก้ปวดครั้งละ 1-2 เม็ด ถ้าอาการปวดยังไม่หายให้รับประทานยาแก้ปวดซ้ำอีก แต่ควรห่างกัน 4 ชม. การรับประทานยามากกว่ากำหนด เพื่อหวังผลให้หายเร็วนั้นอาจเป็นอันตรายได้ ในกรณีที่ทันตแพทย์ สั่งจ่ายยาแก้อักเสบให้ ต้องรับประทานตามกำหนดเวลาจนกว่ายาจะหมด เพื่อผลในการรักษาการติดเชื้อ และป้องกันไม่ให้เกิดอาการดื้ยา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">9. ห้ามเอานิ้ว ไม้จิ้มฟันแคะเขี่ยบริเวณแผลถอนฟันและห้ามดูดแผลเล่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">10. ทำงานประจำได้ตามปกติ แต่อย่าออกกำลังกาย เล่นกีฬา หรือทำงานที่ใช้กำลังมาก ๆ เกินควร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">11. ควรรับประทานอาหารอ่อน รสไม่จัด ควรดื่มน้ำจากแก้วมากกว่าการใช้หลอดดูด การใช้หลอดดูดจะทำให้ก้อนเลือดในแผลหลุดออกและปวดแผลได้ ห้ามสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ หรือรับประทานอาหารที่มีรสเผ็ดจัดหรือร้อนจัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">12. ในกรณีแผลผ่าตัด แผลฟันคุด ที่เย็บไว้ ควรกลับมาตรวจดูแผลและตัดไหมภายหลัง ประมาณ 5-7 วัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">13.ถ้าเลือดออกไม่หยุด หรือมีอาการปวด-บวมผิดปกติ ควรติดต่อทางคลินิก และรีบกลับมาพบทันตแพทย์ทันที </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #967040\">14. เมื่อถอนฟันไปแล้ว ควรรอแผลหายและเหงือกยุบตัวเต็มที่ ซึ่งใช้เวลาประมาณ 4-6 สัปดาห์ และควรปรึกษาทันตแพทย์ว่าสมควรต้องใส่ฟันปลอมทดแทนช่องว่างของฟันซี่ที่ถอนไปหรือไม่</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u20248/l10.gif\" height=\"30\" />\n</p>\n', created = 1718593646, expire = 1718680046, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:51176da6a88bc554437af0d6b8734a65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8acaf55c03f2a2f1c59367b0187a3d2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"526\" src=\"/files/u20248/ban.gif\" height=\"160\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45238\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"183\" src=\"/files/u20248/sur1.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/45257\"><img border=\"0\" width=\"196\" src=\"/files/u20248/surthai-kr.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/45278\"><img border=\"0\" width=\"158\" src=\"/files/u20248/teenage.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/50162\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/head-sur.jpg\" height=\"40\" /></a>\n</p>\n<p>\n              <a href=\"/node/45291\"><img border=\"0\" width=\"257\" src=\"/files/u20248/choose.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/47312\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/assist.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/50171\"><img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u20248/name.jpg\" height=\"40\" /></a> <a href=\"/node/43028\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u20248/home_icon1.gif\" height=\"90\" style=\"width: 86px; height: 73px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #333300\">การทำศัลยกรรมทางช่องปากเป็นทันตกรรมเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัดเพื่อรักษาความผิดปกติของโรคต่างๆ  อาการบาดเจ็บ และความผิดปกติต่างๆของขากรรไกรและบริเวณใบหน้า  ซึ่งแพทย์จะทำการวินัจฉัยและวางแผนการรักษาก่อนที่จะเริ่มทำการรักษา</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>ประเภทของการศัลยกรรมทางช่องปาก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\">• การผ่าตัดเพื่อผ่าฟันคุด <br />\n• การผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน <br />\n• การผ่าตัดเพื่อปลูกรากฟันเทียม <br />\n• การผ่าตัดเพื่อปลูกถ่ายกระดูก</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u20248/f58.gif\" height=\"30\" /><br />\n \n</p>\n', created = 1718593646, expire = 1718680046, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8acaf55c03f2a2f1c59367b0187a3d2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การทำศัลยกรรมช่องปาก

 

              

 

          การทำศัลยกรรมทางช่องปากเป็นทันตกรรมเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัดเพื่อรักษาความผิดปกติของโรคต่างๆ  อาการบาดเจ็บ และความผิดปกติต่างๆของขากรรไกรและบริเวณใบหน้า  ซึ่งแพทย์จะทำการวินัจฉัยและวางแผนการรักษาก่อนที่จะเริ่มทำการรักษา

 

ประเภทของการศัลยกรรมทางช่องปาก

• การผ่าตัดเพื่อผ่าฟันคุด
• การผ่าตัดเพื่อจัดแต่งขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน
• การผ่าตัดเพื่อปลูกรากฟันเทียม
• การผ่าตัดเพื่อปลูกถ่ายกระดูก

 


 

สร้างโดย: 
น.ส.จริยา วัฒนาพงษากุล และ คุรครูขนิษฐา ยั่งยืน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กทม.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 789 คน กำลังออนไลน์