• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:155bdae7f458b767c06e510dbae9e5d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-weight: bold\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"text-decoration: underline\"><span style=\"color: #993300\" class=\"Apple-style-span\">สงคราม 9 ทัพ (พ.ศ.2328<span class=\"Apple-style-span\" style=\"-webkit-text-decorations-in-effect: none\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"text-decoration: underline\"><span style=\"color: #993300\" class=\"Apple-style-span\">)</span></span></span></span></span></span></p>\n<p style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u18659/war9-1.jpg\" width=\"376\" height=\"260\" /> </p>\n<p style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของรูปภาพ : </span><a href=\"http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img29-1.jpg\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img29-1.jpg</span></a><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"> </span></p>\n<div><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          สงครามครั้งนี้ มีขึ้นหลังจากพระเจ้าปะดุง (โบดอพญา) ปราดาภิเษกขึ้นครองราชย์ได้ 4 ปี และ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ได้ 3 ปี</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">&gt;&gt;เหตุผล</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">พระเจ้าปะดุงทรงต้องการแผ่อำนาจครอบคลุมดินแดนสุวรรณภูมิ และทำลายอาณาจักรไทยไม่ให้เติบโตเป็นอาณาจักรใหญ่อย่างกรุงศรีอยุธยาได้อีก</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">&gt;&gt;ยุทธวิธีฝ่ายพม่า</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> พระเจ้าปะดุงจัดทัพเป็น 9 ทัพ หวังจะให้กองทัพเหล่านี้ รุกเข้าทำลายหัวเมืองต่างๆ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ แล้วบรรจบกันเข้าตีกรุงเทพมหานคร ตามยทธวิธีดั้งเดิมที่เคยใช้ได้ดีในสมัยอยุธยา</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">ทัพพม่าทั้ง 9 ทัพ มีดังนี้</span></div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u18659/war9-2.jpg\" width=\"406\" height=\"261\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของรูปภาพ : </span><a href=\"http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img25-1.jpg\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img25-1.jpg</span></a><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"> </span></div>\n<div><i>          <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-style: normal; color: #808000\">ทัพที่1</span></i><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> แบ่งเป็นทัพบกและทัพเรือ ทัพบกมีหน้าที่ตีหัวเมืองปักษ์ใต้ ตั้งแต่เมืองชุมพรถึงสงขลาเป็นการตัดความช่วยเหลือจากทางใต้ ส่วนทัพเรือมีหน้าที่ตีหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันตก ตั้งแต่เมืองตะกั่วป่าลงไปจนถึงเมืองถลาง และยังมีหน้าที่หาเสบียงอาหารให้แก่กองทัพด้วย</span></div>\n<div><i>          <span style=\"font-style: normal\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ทัพที่ 2</span></span></i><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> ให้รวบรวมที่ทวายและให้เดิรทัพเข้าทางด่านบ้องตี้ (อยู่ที่จังหวัดราชบุรี) ให้ตีเมืองราชบุรี เพชรบุรี ไปบรรจบกับทัพที่ 1 ที่ชุมพร</span></div>\n<div><i>          <span style=\"font-style: normal\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ทัพที่ 3</span></span> </i><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">เข้ามาทางเมืองเชียงแสน ตีเมืองลำปาง สวรรคโลก สุโขทัย นครสวรรค์ ลงมาบรรจบกับทัพหลวงที่กรุงเทพฯ</span></div>\n<div><i>          <span style=\"font-style: normal\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ทัพที่ 4,5,6,7,8</span></span></i><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> ชุมนุมทัพที่เมืองเมาะตะมะก่อน ต่อจากนั้นจึงเดินทัพตามลำดับกันเข้าเมืองไทยทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ลงมาตีกรุงเทพฯ</span></div>\n<div><i>          <span style=\"font-style: normal\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ทัพที่ 9</span></span></i><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> มีหน้าที่ตีหัวเมืองเหนือริมฝั่งแม่น้ำปิง ตั้งแต่เมืองตาก กำแพงเพชร ลงมาบรรจบกับทัพหลวงที่กรุงเทพฯ</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">&gt;&gt;ยุทธวิธีฝ่ายไทย</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ทรงเห็นว่าสงครามคราวนี้พม่ามีรี้พลมากกว่าไทยมาก ยกมาทุกทิศทุกทาง แต่จุดประสงค์ก็คงจะต้องเข้าตีกรุงเทพมหานครในที่สุด หากรอรับศึกในกรุงจะรักษากรุงไว้ไม่ได้เพราะกำลังน้อยกว่า จึงเปลี่ยนยุทธวิธีใหม่ไม่ตั้งรับในกรุงเหมือนที่เคยทำ ในสมัยอยุธยา แต่ให้จัดทัพออกไปรับมือข้าศึก ไม่ให้มีโอกาสเข้าประชิดกรุง แต่จะแบ่งกำลังของไทยออกไปรับศึกทุกจุดไม่ได้ จะต้องโจมตีเฉพาะจุดที่สำคัญก่อน เมื่อชนะแล้วจึงค่อยนำกำลังไปโจมตีจุดอื่นๆ ต่อไป จนกว่าจะทำลายทัพพม่าได้หมดสิ้น การจัดทัพตามยุทธวิธีนี้ ไทยจัดทัพเป็น 4 ทัพ ดังนี้</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">          ทัพที่ 1 (กองทัพวังหน้า) รับผิดชอบทิศตะวันตก</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> กรมพระราชวังบวรฯ เป็นแม่ทัพยกไปโจมตีพ่าที่จะยกเข้ามาทางด่านพระเจดีย์สามองค์ (จังหวัดกาญจนบุรี) ทัพวังหน้านี้เป็นทัพใหญ่ที่สุดของไทย เพราะคาดว่าพระเจ้าปะดุงจะยกทัพหลวงหนุนเนื่องเข้ามาด้านนี้</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">          ทัพที่ 2 (กองวังหลัง) รับผิดชอบทิศเหนือ</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> กรมพระราชวังหลังฯ ขณะยังดำรงพระยศเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์เป็นแม่ทัพ ยกไปโจมตีทัพพม่าซึ่งจะมาทางเหนือที่เมืองนครสวรรค์ สกัดไม่ให้ยกมาถึงกรุงเทพฯได้</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">          ทัพที่ 3 รับผิดชอบทิศใต้</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> เจ้าพระยาธรรมา(บุญรอด) เป็นแม่ทัพร่วมกับเจ้าพระยายมราชมีหน้าที่ช่วยกันโจมตีทัพพม่าที่ยกมาทางใต้ และทางด่านบ้องตี้ (จังหวัดราชบุรี)</span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">          ทัพที่ 4 (ทัพหลวง)</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> พระบาทสทเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ทรงเป็นจอมทัพตั้งมั่นอยู่ ณ กรุงเทพมหานคร ทำหน้าที่เป็นกองหนุน ศึกหนักด้านใดจะยกไปช่วยด้านนั้น</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">สงครามครั้งนี้แม้ว่ากำลังฝ่ายไทยจะน้อยกว่าพม่า แต่อาศัยที่มีผู้นำดีมีความสามารถ ทหารจึงมีกำลังใจเข้มแข็งในการสู้รบ ประกอบกับทหารไทยส่วนใหญ่ได้ผ่านศึกในสงคราม กู้ชาติเมื่อครั้งกรุงธนบุรีมาแล้วจึงมีความพร้อม สามารถตีทัพพม่าแตกพ่ายไปทุกทัพ</span></div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u18659/war9-3.jpg\" width=\"444\" height=\"225\" /></div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของรูปภาพ : </span><a href=\"http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img68-1.jpg\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img68-1.jpg</span></a><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"> </span></div>\n<div><b><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">&gt;&gt;ผลของสงคราม 9 ทัพ</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">ทำให้เกิดวีรสตรีไทย 2 ท่านที่สามารถรักษาและป้องกันเมืองถลาง มิให้ตกไปเป็นของพม่า คือ คุณหญิงจัน ภรรยาเจ้าเมืองถลาง และนางมุก น้องสาว เมื่อเสร็จศึกครั้งนี้แล้วได้รับพระราชทานบำเหน็จความชอบ คุณหญิงจันได้เป็นท้าวเทพกษัตรี และนางมุกได้เป็นท้าวศรีสุนทร </span></div>\n<div><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"></span></div>\n', created = 1719988838, expire = 1720075238, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:155bdae7f458b767c06e510dbae9e5d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การฟื้นฟูปรับปรุงชาติบ้านเมือง >> สงครามเก้าทัพ

รูปภาพของ p_pun_p

สงคราม 9 ทัพ (พ.ศ.2328)

 

ที่มาของรูปภาพ : http://www.rta.mi.th/21000u/hitory/hitory4/Military%20Of%20Thailand_files/img29-1.jpg 

          สงครามครั้งนี้ มีขึ้นหลังจากพระเจ้าปะดุง (โบดอพญา) ปราดาภิเษกขึ้นครองราชย์ได้ 4 ปี และ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ได้ 3 ปี
>>เหตุผล พระเจ้าปะดุงทรงต้องการแผ่อำนาจครอบคลุมดินแดนสุวรรณภูมิ และทำลายอาณาจักรไทยไม่ให้เติบโตเป็นอาณาจักรใหญ่อย่างกรุงศรีอยุธยาได้อีก
>>ยุทธวิธีฝ่ายพม่า พระเจ้าปะดุงจัดทัพเป็น 9 ทัพ หวังจะให้กองทัพเหล่านี้ รุกเข้าทำลายหัวเมืองต่างๆ ตั้งแต่เหนือจรดใต้ แล้วบรรจบกันเข้าตีกรุงเทพมหานคร ตามยทธวิธีดั้งเดิมที่เคยใช้ได้ดีในสมัยอยุธยา
ทัพพม่าทั้ง 9 ทัพ มีดังนี้
 
          ทัพที่1 แบ่งเป็นทัพบกและทัพเรือ ทัพบกมีหน้าที่ตีหัวเมืองปักษ์ใต้ ตั้งแต่เมืองชุมพรถึงสงขลาเป็นการตัดความช่วยเหลือจากทางใต้ ส่วนทัพเรือมีหน้าที่ตีหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันตก ตั้งแต่เมืองตะกั่วป่าลงไปจนถึงเมืองถลาง และยังมีหน้าที่หาเสบียงอาหารให้แก่กองทัพด้วย
          ทัพที่ 2 ให้รวบรวมที่ทวายและให้เดิรทัพเข้าทางด่านบ้องตี้ (อยู่ที่จังหวัดราชบุรี) ให้ตีเมืองราชบุรี เพชรบุรี ไปบรรจบกับทัพที่ 1 ที่ชุมพร
          ทัพที่ 3 เข้ามาทางเมืองเชียงแสน ตีเมืองลำปาง สวรรคโลก สุโขทัย นครสวรรค์ ลงมาบรรจบกับทัพหลวงที่กรุงเทพฯ
          ทัพที่ 4,5,6,7,8 ชุมนุมทัพที่เมืองเมาะตะมะก่อน ต่อจากนั้นจึงเดินทัพตามลำดับกันเข้าเมืองไทยทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ลงมาตีกรุงเทพฯ
          ทัพที่ 9 มีหน้าที่ตีหัวเมืองเหนือริมฝั่งแม่น้ำปิง ตั้งแต่เมืองตาก กำแพงเพชร ลงมาบรรจบกับทัพหลวงที่กรุงเทพฯ
>>ยุทธวิธีฝ่ายไทย พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ทรงเห็นว่าสงครามคราวนี้พม่ามีรี้พลมากกว่าไทยมาก ยกมาทุกทิศทุกทาง แต่จุดประสงค์ก็คงจะต้องเข้าตีกรุงเทพมหานครในที่สุด หากรอรับศึกในกรุงจะรักษากรุงไว้ไม่ได้เพราะกำลังน้อยกว่า จึงเปลี่ยนยุทธวิธีใหม่ไม่ตั้งรับในกรุงเหมือนที่เคยทำ ในสมัยอยุธยา แต่ให้จัดทัพออกไปรับมือข้าศึก ไม่ให้มีโอกาสเข้าประชิดกรุง แต่จะแบ่งกำลังของไทยออกไปรับศึกทุกจุดไม่ได้ จะต้องโจมตีเฉพาะจุดที่สำคัญก่อน เมื่อชนะแล้วจึงค่อยนำกำลังไปโจมตีจุดอื่นๆ ต่อไป จนกว่าจะทำลายทัพพม่าได้หมดสิ้น การจัดทัพตามยุทธวิธีนี้ ไทยจัดทัพเป็น 4 ทัพ ดังนี้
          ทัพที่ 1 (กองทัพวังหน้า) รับผิดชอบทิศตะวันตก กรมพระราชวังบวรฯ เป็นแม่ทัพยกไปโจมตีพ่าที่จะยกเข้ามาทางด่านพระเจดีย์สามองค์ (จังหวัดกาญจนบุรี) ทัพวังหน้านี้เป็นทัพใหญ่ที่สุดของไทย เพราะคาดว่าพระเจ้าปะดุงจะยกทัพหลวงหนุนเนื่องเข้ามาด้านนี้
          ทัพที่ 2 (กองวังหลัง) รับผิดชอบทิศเหนือ กรมพระราชวังหลังฯ ขณะยังดำรงพระยศเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์เป็นแม่ทัพ ยกไปโจมตีทัพพม่าซึ่งจะมาทางเหนือที่เมืองนครสวรรค์ สกัดไม่ให้ยกมาถึงกรุงเทพฯได้
          ทัพที่ 3 รับผิดชอบทิศใต้ เจ้าพระยาธรรมา(บุญรอด) เป็นแม่ทัพร่วมกับเจ้าพระยายมราชมีหน้าที่ช่วยกันโจมตีทัพพม่าที่ยกมาทางใต้ และทางด่านบ้องตี้ (จังหวัดราชบุรี)
          ทัพที่ 4 (ทัพหลวง) พระบาทสทเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ทรงเป็นจอมทัพตั้งมั่นอยู่ ณ กรุงเทพมหานคร ทำหน้าที่เป็นกองหนุน ศึกหนักด้านใดจะยกไปช่วยด้านนั้น
สงครามครั้งนี้แม้ว่ากำลังฝ่ายไทยจะน้อยกว่าพม่า แต่อาศัยที่มีผู้นำดีมีความสามารถ ทหารจึงมีกำลังใจเข้มแข็งในการสู้รบ ประกอบกับทหารไทยส่วนใหญ่ได้ผ่านศึกในสงคราม กู้ชาติเมื่อครั้งกรุงธนบุรีมาแล้วจึงมีความพร้อม สามารถตีทัพพม่าแตกพ่ายไปทุกทัพ
>>ผลของสงคราม 9 ทัพ ทำให้เกิดวีรสตรีไทย 2 ท่านที่สามารถรักษาและป้องกันเมืองถลาง มิให้ตกไปเป็นของพม่า คือ คุณหญิงจัน ภรรยาเจ้าเมืองถลาง และนางมุก น้องสาว เมื่อเสร็จศึกครั้งนี้แล้วได้รับพระราชทานบำเหน็จความชอบ คุณหญิงจันได้เป็นท้าวเทพกษัตรี และนางมุกได้เป็นท้าวศรีสุนทร 
สร้างโดย: 
อาจารย์รัชญา ไชยนา และ น.ส.ชัชวรรณ ธิติทรัพย์เลิศ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 486 คน กำลังออนไลน์