• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.117.171.8', 0, '6437f80e4459333b8c99807b3797217c', 157, 1715913554) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e5eb9b3295cad67160aea5ff76019fbe' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<br />\nแซมเปิลสเปซ(Sample Space) คือเซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม<br />\nและเป็นสิ่งที่เราสนใจ เรานิยมใช้สัญลักษณ์  S แทนแซมเปิลสเปซ<br />\nจากความหมายของแซมเปิลสเปซ  แสดงว่า ในการทดลองหรือการกระทำใด ๆ ก็ตาม  <br />\nผลลัพธ์ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได้ต้องเป็นสมาชิกในแซมเปิลสเปซทั้งสิ้น\n</p>\n<p>\n<strong><u>ตัวอย่างที่ 4.2</u></strong> การหาแซมเปิลสเปซในการโดยเหรียญ 1 เหรียญ ถ้าเราสนใจหน้าที่หงายขึ้น<br />\n                    ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้คื  หัว หรือ ก้อย<br />\n                    ดังนั้นแซมเปิลสเปซที่ได้ คือ S={หัว, ก้อย}\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u><span style=\"color: #000000\">ตัวอย่างที่ 4.3</span></u></strong>  ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก ถ้าเราสนใจแต้ม ของลูกเต๋าที่หงายขึ้น<br />\n                     ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้คือ  ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 หรือ 6  <br />\n                     ดังนั้นแซมเปิลสเปซที่ได้คือS = {1, 2,3,4,5,6}\n</p>\n<p>\n<strong><u>ตัวอย่างที่ 4.4</u></strong>  จากการทดลองสุ่มโดยการทดลองทอดลูกเต๋า 2 ลูก <br />\n                     1. จงหาแซมเปิลสเปซของแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น<br />\n                     2. จงหาแซมเปิลสเปซของผลรวมของแต้มบนลูกเต๋า\n</p>\n<p>\n<strong><u>วิธีทำ</u></strong>  1. เนื่องจากโจทย์สนใจแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น <br />\n            ดังนั้นเราต้องเขียนแต้มของลูกเต๋าที่มีโอกาสที่จะหงายขึ้นมาทั้งหมด<br />\n            และเพื่อความสะดวกให้ (a,b)  แทนผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยที่\n</p>\n<p>\na  แทนแต้มที่หงายขึ้นของลูกเต๋าลูกแรก<br />\nb  แทนแต้มที่หงายขึ้นของลูกเต๋าลูกที่สอง          <br />\n  <br />\n      ดังนั้นแซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มคือ<br />\n      S={(1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(1,5),(1,6),<br />\n           (2,1),(2,2),(2,3),(2,4),(2,5),(2,6),<br />\n           (3,1),(3,2),(3,3),(3,4),(3,5),(3,6),<br />\n           (4,1),(4,2),(4,3),(4,4),(4,5),(4,6),<br />\n           (5,1),(5,2),(5,3),(5,4),(5,5),(5,6),<br />\n           (6,1),(6,2),(6,3),(6,4),(6,5),(6,6)}\n</p>\n<p>\n2.  เนื่องจากโจทย์สนใจผลรวมของแต้มบนลูกเต๋า <br />\n     ดังนั้นเราต้องเขียนผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ทั้งหมด <br />\n     จะได้แซมเปิลสเปซของผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าทั้ง 2 ลูก คือ <br />\n    {2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12}\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u>ตัวอย่างที่ 4.5 </u></strong> ในกล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 1 ลูก ถ้าเราหยิบลูกบอลออกจากกล่องมา 1 ลูก โดยวิธีสุ่ม <br />\n     1. จงหาแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่จะเกิดขึ้น<br />\n     2. จงหาแซมเปิลสเปซของลูกบอลที่หยิบออกมาได้\n</p>\n<p>\n<strong><u>วิธีทำ</u></strong> 1.   เนื่องจากโจทย์สนใจสีของลูกบอลที่จะหยิบมาได้ <br />\n              ดังนั้นแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่หยิบได้คือ  S= {สีแดง,สีขาว}<br />\n        2.   เนื่องจากโจทย์สนใจลูกบอลที่จะหยิบมาได้ ซึ่งมีทั้งหมด 3 ลูก <br />\n              สมมติให้เป็น แดง1 แดง2 ขาว1 ดังนั้นแซมเปลิสเปซของลูกบอลที่หยิบออกมาคือ <br />\n              S = {แดง1,แดง2, ขาว1}   <br />\n \n</p>\n', created = 1715913584, expire = 1715999984, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e5eb9b3295cad67160aea5ff76019fbe' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แซมเปิลสเปซ(Sample Space)


แซมเปิลสเปซ(Sample Space) คือเซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม
และเป็นสิ่งที่เราสนใจ เรานิยมใช้สัญลักษณ์  S แทนแซมเปิลสเปซ
จากความหมายของแซมเปิลสเปซ  แสดงว่า ในการทดลองหรือการกระทำใด ๆ ก็ตาม 
ผลลัพธ์ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได้ต้องเป็นสมาชิกในแซมเปิลสเปซทั้งสิ้น

ตัวอย่างที่ 4.2 การหาแซมเปิลสเปซในการโดยเหรียญ 1 เหรียญ ถ้าเราสนใจหน้าที่หงายขึ้น
                    ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้คื  หัว หรือ ก้อย
                    ดังนั้นแซมเปิลสเปซที่ได้ คือ S={หัว, ก้อย}


ตัวอย่างที่ 4.3  ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก ถ้าเราสนใจแต้ม ของลูกเต๋าที่หงายขึ้น
                     ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้คือ  ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 หรือ 6 
                     ดังนั้นแซมเปิลสเปซที่ได้คือS = {1, 2,3,4,5,6}

ตัวอย่างที่ 4.4  จากการทดลองสุ่มโดยการทดลองทอดลูกเต๋า 2 ลูก
                     1. จงหาแซมเปิลสเปซของแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น
                     2. จงหาแซมเปิลสเปซของผลรวมของแต้มบนลูกเต๋า

วิธีทำ  1. เนื่องจากโจทย์สนใจแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น
            ดังนั้นเราต้องเขียนแต้มของลูกเต๋าที่มีโอกาสที่จะหงายขึ้นมาทั้งหมด
            และเพื่อความสะดวกให้ (a,b)  แทนผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยที่

a  แทนแต้มที่หงายขึ้นของลูกเต๋าลูกแรก
b  แทนแต้มที่หงายขึ้นของลูกเต๋าลูกที่สอง         
 
      ดังนั้นแซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มคือ
      S={(1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(1,5),(1,6),
           (2,1),(2,2),(2,3),(2,4),(2,5),(2,6),
           (3,1),(3,2),(3,3),(3,4),(3,5),(3,6),
           (4,1),(4,2),(4,3),(4,4),(4,5),(4,6),
           (5,1),(5,2),(5,3),(5,4),(5,5),(5,6),
           (6,1),(6,2),(6,3),(6,4),(6,5),(6,6)}

2.  เนื่องจากโจทย์สนใจผลรวมของแต้มบนลูกเต๋า
     ดังนั้นเราต้องเขียนผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ทั้งหมด
     จะได้แซมเปิลสเปซของผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าทั้ง 2 ลูก คือ
    {2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12}


ตัวอย่างที่ 4.5  ในกล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 1 ลูก ถ้าเราหยิบลูกบอลออกจากกล่องมา 1 ลูก โดยวิธีสุ่ม
     1. จงหาแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่จะเกิดขึ้น
     2. จงหาแซมเปิลสเปซของลูกบอลที่หยิบออกมาได้

วิธีทำ 1.   เนื่องจากโจทย์สนใจสีของลูกบอลที่จะหยิบมาได้
              ดังนั้นแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่หยิบได้คือ  S= {สีแดง,สีขาว}
        2.   เนื่องจากโจทย์สนใจลูกบอลที่จะหยิบมาได้ ซึ่งมีทั้งหมด 3 ลูก
              สมมติให้เป็น แดง1 แดง2 ขาว1 ดังนั้นแซมเปลิสเปซของลูกบอลที่หยิบออกมาคือ
              S = {แดง1,แดง2, ขาว1}  
 

สร้างโดย: 
นิรดา หฤทัยสดใส

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 261 คน กำลังออนไลน์