• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2ef4099cd619487c8c7ead30e8d68416' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u20342/topic.jpg\" height=\"153\" style=\"width: 611px; height: 119px\" />\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/47659\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/441.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 161px; height: 89px\" /></a><a href=\"/node/47841\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/11.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 159px; height: 87px\" /></a><a href=\"/node/47865\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/333_0.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 146px; height: 90px\" /></a><a href=\"/node/47874\"><img border=\"0\" align=\"top\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/21.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 148px; height: 84px\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/47349\"><img border=\"0\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/1561.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 159px; height: 95px\" /></a><a href=\"/node/47361\"><img border=\"0\" align=\"top\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/199.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 157px; height: 87px\" /></a><a href=\"/node/43463\"><img border=\"0\" align=\"top\" width=\"283\" src=\"/files/u20342/1sss1.jpg\" height=\"139\" style=\"width: 158px; height: 86px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<br />\n<span style=\"color: #333333\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #333333\"></span>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #000080; background-color: #ff0000\"> <span style=\"background-color: #ffffff\"> ประเพณี</span><span style=\"background-color: #ffffff\">บุญบั้งไฟ </span> </span></strong> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #333399\">จังหวัด ยโสธร</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><br />\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20342/bangfai2.jpg\" height=\"171\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก : <a href=\"http://img.ryt9.com/img/thumb/ryt9.com/350x0/62/iqacba197e3b9d1157cb95cf3424e99c7f.jpg\">http://img.ryt9.com/img/thumb/ryt9.com/350x0/62/iqacba197e3b9d1157cb95cf3424e99c7f.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n              <strong>ประเพณีบุญบั้งไฟ</strong> <span style=\"color: #808080\">เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บุญเดือนหก จัดเป็นบุญประจำปีทุกปีในช่วงเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงก่อน<br />\n       ที่จะลงมือทำนา  <br />\n         </span></p>\n<p>              สำหรับที่จังหวัดยโสธรจะจัดงานบุญบั้งไฟในวันสุดสัปดาห์ที่ ๒ ของเดือนพฤษภาคม ในวันศุกร์จะเป็นวันที่คณะบั้งไฟ<br />\n       ทั้งหลายแห่ขบวนเซิ้งเพื่อขอรับบริจาคเงินซื้ออาหาร เครื่องดื่ม และสิ่งของจำเป็นในการร่วมทำบุญ <br />\n           <br />\n              สำหรับวันเสาร์จะเป็นวันแห่ขบวนฟ้อนรำเพื่อการแข่งขันด้านความสวยงามของท่าฟ้อนในจังหวะต่าง ๆ ตลอดทั้งการ<br />\n        ตกแต่งบั้งไฟและการจัดขบวนที่สวยงาม ส่วนในวันอาทิตย์จะเป็นวันจุดบั้งไฟ แข่งขันการขึ้นสูงของบั้งไฟ และการที่บั้งไฟ<br />\n        สามารถลอยอยู่ในอากาศได้นานจะเป็นเครื่องตัดสินการชนะเลิศของการแข่งขัน </p>\n<p>\n              ประเพณีบุญบั้งไฟตามตำนานเล่าว่า เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าถือชาติกำเนิดเป็นพญาคางคก ได้อาศัยอยู่ใต้ร่มโพธิ์ใหญ่ใน<br />\n        เมืองพันทุมวดี ด้วยเหตุใดไม่แจ้ง พญาแถนเทพเจ้าแห่งฝนโกรธเคืองโลกมนุษย์มาก จึงแกล้งไม่ให้ฝนตกนานถึง ๗ เดือน <br />\n        ทำให้เกิดความลำบากยากแค้นอย่างแสนสาหัสแก่มวลมนุษย์ สัตว์และพืช จนกระทั่งพากันล้มตายเป็นจำนวนมาก พวกที่<br />\n        แข็งแรงก็รอดตายและได้พากันมารวมกลุ่มใต้ต้นโพธิ์ใหญ่กับพญาคางคก สรรพสัตว์ทั้งหลายจึงได้หารือกันเพื่อจะหาวิธีการ<br />\n        ปราบพญาแถน ที่ประชุมได้ตกลงกันให้พญานาคียกทัพไปรบกับพญาแถน แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ จากนั้นจึงให้พญาต่อแตนยกทัพ<br />\n        ไปปราบแต่ก็ต้องพ่ายแพ้อีกเช่นกัน ทำให้พวกสรรพสัตว์ทั้งหลายเกิดความท้อถอย หมดกำลังใจและสิ้นหวัง ได้แต่รอวันตาย <br />\n        ในที่สุด พญาคางคกจึงขออาสาที่จะไปรบกับพญาแถน จึงได้วางแผนในการรบโดยปลวกทั้งหลายก่อจอมปลวกขึ้นไปจนถึง<br />\n        เมืองพญาแถน เพื่อเป็นเส้นทางให้บรรดาสรรพสัตว์ทั้งหลายได้เดินทางไปสู่เมืองพญาแถน ซึ่งมีมอด แมลงป่อง ตะขาบ <br />\n        สำหรับมอดได้รับหน้าที่ให้ทำการกัดเจาะด้ามอาวุธที่ทำด้วยไม้ทุกชนิด ส่วนแมลงป่องและตะขาบให้ซ่อนตัวอยู่ตามกองฟืนที่<br />\n        ใช้หุงต้มอาหาร และอยู่ตามเสื้อผ้าของไพร่พลพญาแถนทำหน้าที่กัดต่อย หลังจากวางแผนเรียบร้อย กองทัพพญาคางคกก็เดิน<br />\n        ทางเพื่อปฏิบัติหน้าที่การรบ มอดทำหน้าที่กัดเจาะด้ามอาวุธ แมลงป่องและตะขาบกัดต่อยไพร่พลของพญาแถนจนเจ็บปวด <br />\n        ร้องระงมจนกองทัพระส่ำระสาย ในที่สุดพญาแถนจึงได้ยอมแพ้และตกลงทำสัญญาสงบศึกกับพญาคางคก ดังนี้ <br />\n          <br />\n                 ๑. ถ้ามวลมนุษย์จุดบั้งไฟขึ้นสู่ท้องฟ้าเมื่อใด ให้พญาแถนสั่งให้ฝนตกในโลกมนุษย์ <br />\n                 ๒. ถ้าได้ยินเสียงกบ เขียดร้อง ให้รับรู้ว่าฝนได้ตกลงมาแล้ว <br />\n                 ๓. ถ้าได้ยินเสียงสนู (เสียงธนูหวายของว่าว) หรือเสียงโหวด ให้ฝนหยุดตกเพราะจะเข้าสู่ฤดูเก็บเกี่ยวข้าว <br />\n        <br />\n        หลังจากที่ได้สัญญากันแล้ว พญาแถนจึงได้ถูกปล่อยตัวไปและได้ปฏิบัติตามสัญญามาจนบัดนี้ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20342/bungfai1.jpg\" height=\"196\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก : <a href=\"http://www.thaitourzone.com/eastnorth/yasotorn/event.JPG\">http://www.thaitourzone.com/eastnorth/yasotorn/event.JPG</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n          </p>\n<p>         <span style=\"color: #808080\">  ในปัจจุบันงานบุญบั้งไฟ ก็ยังคงมีขึ้นในวันเสาร์ - อาทิตย์ ที่ ๒ ของเดือนพฤษภาคมของทุกปี ณ สวนสาธารณะพญาแถน <br />\n        โดยมีความเชื่อว่าเมื่อจัดงานนี้แล้วเทพยดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายจะดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ทำให้พืชพันธุ์<br />\n         ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ </span>\n</p>\n<p>        <strong>      กิจกรรมที่สำคัญในงาน </strong><span style=\"color: #808080\">ประกอบด้วย วันแรก จะมีการจัดขบวนแห่บั้งไฟ ตกแต่งไปตามถนนภายในเขตเทศบาลเมือง <br />\n       การประกวดธิดาบั้งไฟโก้ การจัดงานเลี้ยงพาข้าวแลง และการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นเมือง วันที่ ๒ จะมีการแข่งขันการจุดบั้งไฟ</span> </p>\n<p>\n      <strong> <span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\">พิธีกรรม</span></strong> <br />\n            <br />\n            <span style=\"color: #333333\">  </span><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #333300\"><span style=\"color: #333333\"><span style=\"color: #999999\">บั้งไฟแต่ละอันที่มาเข้าขบวนแห่ จะถูกตกแต่งประดับประดาอย่างสวยงามด้วยลวดลายไทยสีทอง ว่ากันว่าศิลปะการ<br />\n       ตกแต่งบั้งไฟนี้ นายช่างจะต้องสับ และตัดลวดลายต่าง ๆ นี้ไว้เป็นเวลาแรมเดือน แล้วจึงนำมาทากาวติดกับลูกบั้งไฟ ส่วนหัว<br />\n       บั้งไฟนั้นจะทำเป็นรูปต่าง ๆ ส่วนมากนิยมทำเป็นรูปหัวพญานาคอ้าปากแลบลิ้นพ่นน้ำได้ บ้างก็ทำเป็นรูปอื่น ๆ แต่ก็มีความหมาย<br />\n       เข้ากับตำนานในการขอฝนทั้งสิ้น ตัวบั้งไฟจะนำไปตั้งบนฐาน ใช้รถหรือเกวียนเป็นพาหนะนำมาเดินแห่ตามประเพณี บั้งไฟที่จัดทำ<br />\n       ให้มีหลากชนิด คือ มีทั้งบั้งไฟกิโล บั้งไฟหมื่น และบั้งไฟแสน บั้งไฟกิโลนั้นหมายถึง น้ำหนักของดินประสิว ๑ กิโลกรัม เมื่อตกลง<br />\n       กันว่าจะทำบั้งไฟขนาดไหนก็หาช่างมาทำ หรือที่มีฝีมือก็ทำกันเอง ช่างที่ทำบั้งไฟนั้นสำคัญมาก ช่างจะต้องเป็นผู้มีฝีมือในการ<br />\n       คำนวณผสมดินประสิวกับถ่านไม้ เพราะถ้าไม่ถูกสูตรบั้งไฟก็จะแตก คือ ไม่ขึ้นสู่ท้องฟ้า สำหรับไม้ที่จะนำมาทำเสาบั้งไฟนั้น จะตัด<br />\n       เอาแต่ที่โคนต้น เพราะมีความหนาและเหนียว ความยาวนั้นแล้วแต่จะตกลงกัน ในวันรุ่งขึ้นเป็นการจุดบั้งไฟ จะมีการแบกบั้งไฟไป<br />\n       ยังฐานยิงในที่โล่ง ถ้าบั้งไฟของใครจุดแล้วยิงไม่ขึ้น คนทำจะถูกจับโยนลงในโคลน ซึ่งเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกันมา</span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1728054767, expire = 1728141167, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2ef4099cd619487c8c7ead30e8d68416' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีบุญบั้งไฟ


  ประเพณีบุญบั้งไฟ   

จังหวัด ยโสธร


ภาพจาก : http://img.ryt9.com/img/thumb/ryt9.com/350x0/62/iqacba197e3b9d1157cb95cf3424e99c7f.jpg

 

              ประเพณีบุญบั้งไฟ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บุญเดือนหก จัดเป็นบุญประจำปีทุกปีในช่วงเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงก่อน
       ที่จะลงมือทำนา  
         

              สำหรับที่จังหวัดยโสธรจะจัดงานบุญบั้งไฟในวันสุดสัปดาห์ที่ ๒ ของเดือนพฤษภาคม ในวันศุกร์จะเป็นวันที่คณะบั้งไฟ
       ทั้งหลายแห่ขบวนเซิ้งเพื่อขอรับบริจาคเงินซื้ออาหาร เครื่องดื่ม และสิ่งของจำเป็นในการร่วมทำบุญ 
           
              สำหรับวันเสาร์จะเป็นวันแห่ขบวนฟ้อนรำเพื่อการแข่งขันด้านความสวยงามของท่าฟ้อนในจังหวะต่าง ๆ ตลอดทั้งการ
        ตกแต่งบั้งไฟและการจัดขบวนที่สวยงาม ส่วนในวันอาทิตย์จะเป็นวันจุดบั้งไฟ แข่งขันการขึ้นสูงของบั้งไฟ และการที่บั้งไฟ
        สามารถลอยอยู่ในอากาศได้นานจะเป็นเครื่องตัดสินการชนะเลิศของการแข่งขัน

              ประเพณีบุญบั้งไฟตามตำนานเล่าว่า เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าถือชาติกำเนิดเป็นพญาคางคก ได้อาศัยอยู่ใต้ร่มโพธิ์ใหญ่ใน
        เมืองพันทุมวดี ด้วยเหตุใดไม่แจ้ง พญาแถนเทพเจ้าแห่งฝนโกรธเคืองโลกมนุษย์มาก จึงแกล้งไม่ให้ฝนตกนานถึง ๗ เดือน 
        ทำให้เกิดความลำบากยากแค้นอย่างแสนสาหัสแก่มวลมนุษย์ สัตว์และพืช จนกระทั่งพากันล้มตายเป็นจำนวนมาก พวกที่
        แข็งแรงก็รอดตายและได้พากันมารวมกลุ่มใต้ต้นโพธิ์ใหญ่กับพญาคางคก สรรพสัตว์ทั้งหลายจึงได้หารือกันเพื่อจะหาวิธีการ
        ปราบพญาแถน ที่ประชุมได้ตกลงกันให้พญานาคียกทัพไปรบกับพญาแถน แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ จากนั้นจึงให้พญาต่อแตนยกทัพ
        ไปปราบแต่ก็ต้องพ่ายแพ้อีกเช่นกัน ทำให้พวกสรรพสัตว์ทั้งหลายเกิดความท้อถอย หมดกำลังใจและสิ้นหวัง ได้แต่รอวันตาย
        ในที่สุด พญาคางคกจึงขออาสาที่จะไปรบกับพญาแถน จึงได้วางแผนในการรบโดยปลวกทั้งหลายก่อจอมปลวกขึ้นไปจนถึง
        เมืองพญาแถน เพื่อเป็นเส้นทางให้บรรดาสรรพสัตว์ทั้งหลายได้เดินทางไปสู่เมืองพญาแถน ซึ่งมีมอด แมลงป่อง ตะขาบ
        สำหรับมอดได้รับหน้าที่ให้ทำการกัดเจาะด้ามอาวุธที่ทำด้วยไม้ทุกชนิด ส่วนแมลงป่องและตะขาบให้ซ่อนตัวอยู่ตามกองฟืนที่
        ใช้หุงต้มอาหาร และอยู่ตามเสื้อผ้าของไพร่พลพญาแถนทำหน้าที่กัดต่อย หลังจากวางแผนเรียบร้อย กองทัพพญาคางคกก็เดิน
        ทางเพื่อปฏิบัติหน้าที่การรบ มอดทำหน้าที่กัดเจาะด้ามอาวุธ แมลงป่องและตะขาบกัดต่อยไพร่พลของพญาแถนจนเจ็บปวด 
        ร้องระงมจนกองทัพระส่ำระสาย ในที่สุดพญาแถนจึงได้ยอมแพ้และตกลงทำสัญญาสงบศึกกับพญาคางคก ดังนี้
         
                 ๑. ถ้ามวลมนุษย์จุดบั้งไฟขึ้นสู่ท้องฟ้าเมื่อใด ให้พญาแถนสั่งให้ฝนตกในโลกมนุษย์
                 ๒. ถ้าได้ยินเสียงกบ เขียดร้อง ให้รับรู้ว่าฝนได้ตกลงมาแล้ว
                 ๓. ถ้าได้ยินเสียงสนู (เสียงธนูหวายของว่าว) หรือเสียงโหวด ให้ฝนหยุดตกเพราะจะเข้าสู่ฤดูเก็บเกี่ยวข้าว 
        
        หลังจากที่ได้สัญญากันแล้ว พญาแถนจึงได้ถูกปล่อยตัวไปและได้ปฏิบัติตามสัญญามาจนบัดนี้ 

 

ภาพจาก : http://www.thaitourzone.com/eastnorth/yasotorn/event.JPG


          

           ในปัจจุบันงานบุญบั้งไฟ ก็ยังคงมีขึ้นในวันเสาร์ - อาทิตย์ ที่ ๒ ของเดือนพฤษภาคมของทุกปี ณ สวนสาธารณะพญาแถน
        โดยมีความเชื่อว่าเมื่อจัดงานนี้แล้วเทพยดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายจะดลบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ทำให้พืชพันธุ์
         ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์

              กิจกรรมที่สำคัญในงาน ประกอบด้วย วันแรก จะมีการจัดขบวนแห่บั้งไฟ ตกแต่งไปตามถนนภายในเขตเทศบาลเมือง
       การประกวดธิดาบั้งไฟโก้ การจัดงานเลี้ยงพาข้าวแลง และการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นเมือง วันที่ ๒ จะมีการแข่งขันการจุดบั้งไฟ

       พิธีกรรม
           
              บั้งไฟแต่ละอันที่มาเข้าขบวนแห่ จะถูกตกแต่งประดับประดาอย่างสวยงามด้วยลวดลายไทยสีทอง ว่ากันว่าศิลปะการ
       ตกแต่งบั้งไฟนี้ นายช่างจะต้องสับ และตัดลวดลายต่าง ๆ นี้ไว้เป็นเวลาแรมเดือน แล้วจึงนำมาทากาวติดกับลูกบั้งไฟ ส่วนหัว
       บั้งไฟนั้นจะทำเป็นรูปต่าง ๆ ส่วนมากนิยมทำเป็นรูปหัวพญานาคอ้าปากแลบลิ้นพ่นน้ำได้ บ้างก็ทำเป็นรูปอื่น ๆ แต่ก็มีความหมาย
       เข้ากับตำนานในการขอฝนทั้งสิ้น ตัวบั้งไฟจะนำไปตั้งบนฐาน ใช้รถหรือเกวียนเป็นพาหนะนำมาเดินแห่ตามประเพณี บั้งไฟที่จัดทำ
       ให้มีหลากชนิด คือ มีทั้งบั้งไฟกิโล บั้งไฟหมื่น และบั้งไฟแสน บั้งไฟกิโลนั้นหมายถึง น้ำหนักของดินประสิว ๑ กิโลกรัม เมื่อตกลง
       กันว่าจะทำบั้งไฟขนาดไหนก็หาช่างมาทำ หรือที่มีฝีมือก็ทำกันเอง ช่างที่ทำบั้งไฟนั้นสำคัญมาก ช่างจะต้องเป็นผู้มีฝีมือในการ
       คำนวณผสมดินประสิวกับถ่านไม้ เพราะถ้าไม่ถูกสูตรบั้งไฟก็จะแตก คือ ไม่ขึ้นสู่ท้องฟ้า สำหรับไม้ที่จะนำมาทำเสาบั้งไฟนั้น จะตัด
       เอาแต่ที่โคนต้น เพราะมีความหนาและเหนียว ความยาวนั้นแล้วแต่จะตกลงกัน ในวันรุ่งขึ้นเป็นการจุดบั้งไฟ จะมีการแบกบั้งไฟไป
       ยังฐานยิงในที่โล่ง ถ้าบั้งไฟของใครจุดแล้วยิงไม่ขึ้น คนทำจะถูกจับโยนลงในโคลน ซึ่งเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกันมา

 

 

 


 

สร้างโดย: 
นาย ชาญชัย เปี่ยมชาคร และ นางสาว วรวีณ มะสำอินทร์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพฯ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 361 คน กำลังออนไลน์