• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2801ca8456ea24f2705fa6716e916934' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #FFCC99\">ต่อมไทมัส (Thymus gland) </span></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/thymus_gland.jpg\" width=\"442\" height=\"325\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.surgery.wisc.edu/cardio/migravis/images/thymus_gland.jpg\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<strong>ต่อมไทมัส (Thymus gland)</strong> เป็นเนื้อเยื่อน้ำเหลืองชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นพู 2 พู อยู่บริเวณกลางหน้าอก<img align=\"right\" height=\"200\" width=\"90\" src=\"/files/u20255/101103235.gif\" /> <br />\nใกล้กับหัวใจ ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับ<u><em>การสร้างภูมิคุ้มกันแบบใช้เซลล์ (cell-mediated immunity)</em></u>โดยลิมโฟไซด์ ที่สร้างจากกระดูกจะต้องมีการเจริญเปลี่ยนแปลงภายในต่อมไทมัส กลายเป็นเซลล์ชนิดที ก่อนที่จะออกสู่กระแสเลือด <br />\nต่อมไทมัสสามารถทำหน้าที่ดังกล่าวตั้งแต่ทารกยังอยู่ใน ครรถ์ ภายหลังการเกิดเมื่อทารกมีอายุมากขึ้น <br />\nต่อมไทมัสจะหมดความสำคัญ และจะฝ่อไปในที่สุด\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/r7_thymus.jpg\" width=\"400\" height=\"260\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nที่มา:http://i680.photobucket.com/albums/vv166/trimurtulu/r7_thymus.jpg \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nนอกจากทำหน้าที่กี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันแบบใช้เซลล์กันแล้ว ต่อมไทมัสยังทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อซึ่งสังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมนหลายชนิด ฮอร์โมนที่สำคัญชนิดหนึ่งคือ ไทโมซิน (thymosin) ซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์ชนิดที ในกระแสเลือดที่ผ่านต่อมไทมัสแล้ว ให้เจริญแล้วพัฒนาเป็นเซลล์ทีที่พร้อมที่จะทำงานได้\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<u><strong></strong></u><img height=\"90\" width=\"65\" src=\"/files/u20255/b_bel.gif\" /><u><strong>หน้าที่และบทบาท</strong></u>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nฮอร์โมนไทโมซินทำหน้าที่สร้าง <strong>T-lymphocyte</strong> เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่เกี่ยวกับเซลล์ (Cellular immunity)\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/hor38.jpg\" width=\"500\" height=\"319\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor38.jpg <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor37.jpg\" title=\"http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor37.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor37.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"29\" width=\"479\" src=\"/files/u20255/bline16.gif\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/43035\"><img height=\"35\" width=\"150\" src=\"/files/u20255/home.jpg\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n', created = 1714619778, expire = 1714706178, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2801ca8456ea24f2705fa6716e916934' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต่อมไทมัส (Thymus gland)

ต่อมไทมัส (Thymus gland) 
ที่มา:http://www.surgery.wisc.edu/cardio/migravis/images/thymus_gland.jpg

ต่อมไทมัส (Thymus gland) เป็นเนื้อเยื่อน้ำเหลืองชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นพู 2 พู อยู่บริเวณกลางหน้าอก
ใกล้กับหัวใจ ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันแบบใช้เซลล์ (cell-mediated immunity)โดยลิมโฟไซด์ ที่สร้างจากกระดูกจะต้องมีการเจริญเปลี่ยนแปลงภายในต่อมไทมัส กลายเป็นเซลล์ชนิดที ก่อนที่จะออกสู่กระแสเลือด
ต่อมไทมัสสามารถทำหน้าที่ดังกล่าวตั้งแต่ทารกยังอยู่ใน ครรถ์ ภายหลังการเกิดเมื่อทารกมีอายุมากขึ้น
ต่อมไทมัสจะหมดความสำคัญ และจะฝ่อไปในที่สุด
 
ที่มา:http://i680.photobucket.com/albums/vv166/trimurtulu/r7_thymus.jpg 

นอกจากทำหน้าที่กี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันแบบใช้เซลล์กันแล้ว ต่อมไทมัสยังทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อซึ่งสังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมนหลายชนิด ฮอร์โมนที่สำคัญชนิดหนึ่งคือ ไทโมซิน (thymosin) ซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์ชนิดที ในกระแสเลือดที่ผ่านต่อมไทมัสแล้ว ให้เจริญแล้วพัฒนาเป็นเซลล์ทีที่พร้อมที่จะทำงานได้
หน้าที่และบทบาท

ฮอร์โมนไทโมซินทำหน้าที่สร้าง T-lymphocyte เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่เกี่ยวกับเซลล์ (Cellular immunity)
 

ที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor38.jpg http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor37.jpg
 
 
 
 
 
สร้างโดย: 
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.จุฑารัตน์ จริงธนสาร ผู้จัดทำ : นส.วิศัลยา ชินกาญจนโรจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 492 คน กำลังออนไลน์