• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d7874859211401bbf7ba54a9cf94b0d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nใบงานที่1   เรื่อง รู้จักภาษาคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\nคำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n1. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) คืออะไร ให้อธิบายอย่างละเอียด  \n</p>\n<p>\n<strong>  ตอบ</strong>    ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) คือภาษาที่ใช้ หรือเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมักใช้ร่วมกับภาษาโปรแกรม แต่ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นมีความหมายที่กว้างกว่า โดยไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นภาษาโปรแกรม ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าภาษาอย่าง HTML หรือ SQL   ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่ำ และภาษาระดับสูง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2.วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์เป็นอย่างไร จงอธิบาย \n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ตอบ</strong>     ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการโดยลำดับเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคหรือเป็นรุ่นของภาษา (Generation) ซึ่งในยุคหลังๆจะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวกในการอ่านและเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆเนื่องจากจะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ  สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค  ดังนี้  \n</p>\n<p>\n  1. ภาษาเครื่อง ในยุคแรก ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนคำสั่งด้วยภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกว่า ภาษาเครื่อง คำสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบด้วยกลุ่มของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง เป็นภาษาเดียวเท่านั้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคำสั่งของภาษาเครื่องจะประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทำงานอะไรเช่น สั่งให้ทำการบวกเลข สั่งให้ทำการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็นต้น และอีกส่วนเพื่อบอกแหล่งข้อมูลที่จะนำมาทำงานตามที่ระบุในตอนแรก โครงสร้างของคำสั่งในภาษาเครื่อง คำสั่งในภาษาเครื่องจะประกอบfด้วย 2 ส่วนคือ <br />\n            โอเปอเรชันโคด (Operation Code) เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เช่นการบวก (Addition) การลบ (Subtraction) เป็นต้น <br />\n           โอเปอแรนด์  (Operands)เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปปฏิบัติการตามคำสั่งในโอเปอเรชันโคด\n</p>\n<p>\n2. ภาษาระดับต่ำหรือภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ(mnemonic codes)แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n       A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวก\n</p>\n<p>\n       S ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึง การลบ\n</p>\n<p>\n       C ย่อมาจาก COMPLARE    หมายถึง การเปรียบเทียบ<br />\n       MP                        ย่อมาจาก MULTIPLY     หมายถึง                      การคูณ<br />\n       ST                          ย่อมาจาก SRORE              หมายถึง                    การเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ เป็นต้น                 ถึงแม้ว่าสัญลักษณ์เหล่านี้จะไม่ใช่คำที่มีความหมายในภาษาอังกฤษแต่ก็ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้สะดวกสะบายมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องสะดวกสบายมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องจดจำ 0 และ1 ของเลขฐานสองอีกนอกจากนี้ภาษาแอสเซมบลียังอนุญาติให้ผู้เขียนใช้ตัวแปรที่ตั้งขึ้นมาเองในการเก็บค่าข้อมมูลใด ๆ เช่น X, Y, RATE หรือ TOTAL แทนการอ้างอิงถึงตำแหน่งที่เก็บข้อมูลจริงๆ ภายในหน่วยความจำดังได้กล่าวแล้วว่าเครื่องคอมพิวเตอร์จะรู้จักเฉพาะภาษาเครื่องเท่านั้นดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการแปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีนั้นให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อนเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมได้การแปลภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่องนั้นจะต้องมีตัวแปลภาษาแอสเซมบลีที่เรียกว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปล ซึ่งภาษาแอสเซมบลี 1คำสั่งจะสามารถแปลเป็นภาษาเครื่องได้ 1 คำสั่งเช่นกัน ดังนั้นเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 10 คำสั่ง ก็จะถูกแปลเป็นภาษาเครื่อง 10 คำสั่งเช่นกันจึงเห็นได้ว่าภาษาแอสเซมบลีจะมีลักษณะที่เหมือนกับภาษาเครื่องคือ เป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับเครื่อง กล่าวคือเราไม่สามารถนำโปรแกรมที่เขียนด้วยแอสเซมบลีโปรแกรมเดียวกันไปใช้ในเครื่องต่างชนิดกันได้และนอกจากนี้ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีได้จะต้องมีความรู้   ความเข้าใจในเรื่องของฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีเนื่องจากจะต้องยุ่งเกี่ยวกับการใช้งานหน่วยความจำที่เป็นงานหน่วยความจำที่เป็นรีจิสเตอร์ภายในตลอดดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้เขียนในงานที่ต้องการความเร็วในการทำงานสูง เช่น งานทางด้านกราฟิกหรืองานพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบต่าง ๆอย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าภาษานี้จะง่ายกว่าการเขียนด้วยภาษาเครื่อง แต่ก็ยังถือว่าเป็นภาษาชั้นต่ำที่ยังยากต่อการเขียนและการเรียนรู้มากสำหรับผู้ที่ไม่ความรู้เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์เท่าใดนัก    3.      ภาษาระดับสูง                   สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3(3rd Generation Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สำคัญคือผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) เบสิก (BASIC) ปาสคาล (PASCAL) ซี (C) เอดา (ADA)อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทำงานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งวิธีการแปลงจากภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จะทำได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า คอมไพเลอร์ (Compiler) หรือ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของตัวเอง ดังนั้นจึงไม่สามารถนำตัวแปลภาษาที่เรียกว่า โคบอลคอมไพเลอร์ไม่สามารถนำคอมไพเลอร์ของภาษาโคบอลนี้ไปใช้แปลภาษาปาสคาลได้ เป็นต้น สำหรับความแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์จะมีดังต่อไปนี้ คอมไพเลอร์ (Compiler)                      จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้นก็จะแจ้งให้ทราบ เรียกข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา(Syntax Error) นี้ได้ว่าเป็น ข้อความไดแอคนอสติค (Diagnostic Message) เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมทำการแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วจึงค่อยสั่งให้แปลใหม่ โปรแกรมที่ยังไม่ผ่านการแปลจะเรียกว่า ซอร์สโปรแกรม (Source Program) หรือ ซอร์สโมดูล (Source module) แต่ถ้าผ่านการแปลเรียบร้อยและไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ จะเรียกโปรแกรมส่วนนี้ว่า ออปเจกต์โปรแกรม (Object Program) หรือออปเจกต์โมดูล (Object Module)ออปเจกต์โปรแกรมนี้ยังไม่สามารถทำงานได้ จะต้องผ่านการลิงค์ (Link) หรือรวมเข้ากับไลบรารี่ (Library)ของระบบก่อนจึงจะเป็นโปรแกรมที่สามารถทำงานได้หรือเป็นภาษาเครื่องทีเรียกว่า เอ็กซ์ซีคิวท์โปรแกรม (Execute Program)หรือ โหลดโมดูล (Load Module) ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .exe หรือ.comและสามารถนำโปรแกรมนี้ไปใช้งานได้ตลอดโดยไม่ต้องสั่งแปลใหม่อีก แต่ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรมแม้เพียงเล็กน้อยก็ต้องทำการแปลใหม่หมดตั้งแต่ต้น อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)\n</p>\n<p>\n                     เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไปถ้าในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดทีบรรทัดใดก็จะฟ้องให้ทำการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันทีอินเตอร์พรีเตอร์นี้เมื่อโปรแกรมเสร็จแล้วจะไม่สามารถเก็บเป็นเอ็กซ์ซีคิวท์โปรแกรม (Execute Program) ได้ซึ่งต่างกับคอมไพเลอร์ดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานหรือรันโปรแกรมก็จะต้องทำการแปลหรือคอมไพล์โปรแกรมใหม่ทุกครั้งไปดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานเอ็กซ์ซีคิวท์\n</p>\n<p>\nโปรแกรมย่อมจะทำงานได้เร็วกว่าการเรียกใช้งานโปรแกรมที่ต้องผ่านการแปลด้วยอินเตอร์พรีเตอร์แต่ประโยชน์ของภาษาที่ถูกแปลด้วยอินเตอร์พรีเตอร์คือโปรแกรมจะมีโครงสร้างที่ง่ายต่อการพัฒนาตัวอย่างของภาษาโปแกรมที่มีการใช้อินเตอร์พรีเตอร์เป็นตัวแปลภาษาได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาเพร์ล เป็นต้น  การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาชั้นสูงนั้นนอกจากจะให้ความสะดวกแก่ผู้เขียนเป็นอันมากแล้วผู้เขียนแทบจะไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการทำงาน ของระบบฮาร์ดแวร์ก็สามารถเขียนโปรแกรมสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้นอกจากนี้ยังมีข้อดีอีกอย่างคือสามารถนำโปรแกรมที่เขียนนี้ ไปใช้งานบนเครื่องใดก็ได้ คือมีลักษณะที่ไม่ขึ้นอยู่กับกับเครื่อง(Hardware Indepent)เพียงแต่ต้องทำการการแปลโปรแกรมใหม่เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามภาษาเครื่องที่ได้จากการแปลภาษาชั้นสูงนี้อาจเยิ่นเย้อและไม่มีประสิทธิภาพเท่ากับการเขียนด้วยภาษาเครื่องหรือแอสเซมบลีโดยตรงภาษารุ่นที่ 3 นี้ส่วนใหญ่จะจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาที่มีแบบแผน (Procedural language)เนื่องจากลักษณะการเขียนโปรแกรมจะมีโครงสร้างแบบแผนที่เป็นระเบียบ กล่าวคือ งานทุกอย่างผู้เขียนโปรแกรมต้องเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานเองทั้งหมด และต้องเขียนคำสั่งการทำงานที่เป็นขั้นตอนทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการสร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล การประมวลผล หรือการสร้างรายงาน ซึ่งโปรแกรมที่เขียนจะค่อนข้างซับซ้อนและใช้เวลาในการพัฒนาค่อนข้างยาก <br />\n4.  ภาษาชั้นสูงมาก (Very high - Level Language)                            สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs: Fourth Generation Languages)ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบนหน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres เป็นต้น ลักษณะของ 4GL มีดังต่อไปนี้  \n</p>\n<p>\n      เป็นภาษาแบบ Nonprocedural ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้เพียงแต่บอกว่าต้องการอะไร แต่ไม่ต้องบอกถึงรายละเอียดว่าต้องทำอย่างไร คอมพิวเตอร์จะเป็นผู้จัดการให้เองหมด ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการสร้างแบบฟอร์มการรับข้อมูลจากผู้ใช้ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่ทำการออกแบบหน้าตาของแบบฟอร์มนั้นบนโปรแกรมอิดิเตอร์ (Editor) ใดๆ และเก็บเป็นไฟล์ไว้เมื่อจะเรียกใช้งานแบบฟอร์มนั้นเพียงแต่ใช้คำสั่งเปิดไฟล์นั้นขึ้นมาแสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยทันทีซึ่งต่างจากภาษารุ่นที่ 3 ซึ่งเป็นแบบ Proceduralผู้เขียนโปรแกรม จะต้องเขียนรายละเอียดของโปรแกรมทั้งหมดว่า ที่บรรทัดนี้คอลัมน์นี้จะให้แสดงข้อความหรือข้อมูลอะไรออกมา ซึ่งถ้าต่อไปจะมีการปรับเปลี่ยนหน้าตาของแบบฟอร์ม ก็จะเป็นเรื่องที่ยุ่งยากอย่างยิ่ง หรือในการสร้างรายงานด้วย 4GLs ก็สามารถทำได้อย่างง่ายดายเพียงแต่ระบุลงไปว่าต้องการรายงานอะไร มีข้อมูลใดที่จะนำมาแสดงบ้าง โดยไม่ต้องบอกถึงวิธีการสร้าง\n</p>\n<p>\nหรือการดึงข้อมูลแต่อย่างใด 4GLsจะจัดการให้เองหมดส่วนใหญ่จะพบว่า 4GLs มักจะอยู่ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลจะสามารถจัดการฐานข้อมูลได้โดยผ่านทาง 4GLs นี้ ส่วนประกอบของภาษา 4GLs                  โดยทั่วไปแล้ว 4GLs จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนดังต่อไปนี้ เครื่องช่วยสร้างรายงาน (Report Generators)หรืออาจเรียกได้อีกอย่างว่า เครื่องมือช่วยเขียนรายงาน (Report Writer) เป็นโปรแกรมสำหรับผู้ใช้ (end - users) ให้สามารถสร้างรายงานอย่างง่ายได้ด้วยตนเอง โดยผู้ใช้สามารถกำหนดเงื่อนไขและข้อมูลที่จะออกมาพิมพ์ในรายงาน รวมไปถึงรูปแบบ (format) ของการพิมพ์ไว้ โปรแกรมช่วยสร้างรายงานนี้จะทำการพิมพ์รายงานตามรูปแบบที่เรากำหนดไว้ให้ภาษาช่วยค้นหาข้อมูล (Query Languages)เป็นภาษาที่ช่วยในการค้นหาหรือดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล ภาษานี้จะง่ายต่อการใช้งานมาก เนื่องจากจะอยู่ในรูปแบบที่ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษมาก ตัวอย่างของภาษาช่วยค้นหาข้อมูลนี้ได้แก่ ภาษา SQL (Structured Query Language)ภาษา QBE (Query - By - Example) และ Intellect เป็นต้น   เครื่องมือช่วยสร้างโปรแกรม (Application Generators)   4GLs จะมีรูปแบบการเขียนโปรแกรมเฉพาะตัว และสามารถเรียกใช้เครื่องมือช่วยสร้างโปรแกรมนี้ทำการแปลง 4GLs ให้กลายเป็นโปรกรมในภาษารุ่นที่ 3 ได้ เช่น ภาษาโคบอล หรือ ภาษาซี เป็นต้น ซึ่งอาจนำภาษาโคบอล หรือซีที่แปลงได้<br />\nไปพัฒนาต่อเพื่อใช้กับงานที่มีความซับซ้อนมากๆ ต่อไปได้ ประโยชน์ของ 4GL   เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้ คำสั่งแต่ละคำสั่งสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน ดังนั้น<br />\n           จึงสามารถใช้เวลาในการศึกษาสั้นกว่าภาษารุ่นที่ 3ประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรมได้มาก เนื่องจาก 1 คำสั่งของ 4GL ถ้าต้องเขียนด้วยภาษารุ่นที่ 3 อาจต้องเขียนถึง 100 กว่าคำสั่งในการทำงานแบบเดียวกันสนับสนุนระบบจัดการฐานข้อมูล ทำให้สามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างสะดวก และรวดเร็วสามารถสร้างแบบฟอร์มเพื่อจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล และออกรายงานได้อย่างง่ายดาย ไม่ยุ่งยากมีเครื่องมือการใช้งานเพื่ออำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรมมากพอสมควรสามารถทำงานได้ในลักษณะ Interactive คือมีการโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ทันที  5.    ภาษาธรรมชาติ         เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทำให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งที่สามารถคิดและตัดสินใจได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คอมพิวเตอร์สามารถตอบคำถามของมนุษย์ได้อย่างถูกต้องพร้อมทั้งมีข้อแนะนำต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้จะใช้กับงานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเช่น ในการแพทย์ ในการพยากรณ์อากาศ ในการวิเคราะห์ทางเคมี การลงทุน ฯลฯ ซึ่งในการนี้จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมหาศาลและให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาธรรมชาติในการดึงข้อมูลจากฐานความรู้นี้ได้ ดังนั้นเราจึงอาจเรียกระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้อีกอย่างว่าเป็นระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System)อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถนำมาแทนที่การทำงานของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ได้ เนื่องจากทั้งระบบผู้เชี่ยวชาญและมนุษย์จะต้องทำงานร่วมกัน โดยมนุษย์จะนำข้อมูลที่ได้จากระบบผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาร่วมกับวิจารญาณของตนเองเพื่อตัดสินปัญหาที่ซับซ้อนอีกที อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นคลื่นแห่งอนาคต ที่จะใช้เป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจการทำงานของมนุษย์ได้อย่างดีเยี่ยม       3.ให้นักเรียนอธิบายว่า  &quot;ภาษาธรรมชาติ&quot; คืออะไรแล้วเกี่ยวข้องอย่างไรกับภาษาคอมพิวเตอร์  ตอบ    ภาษาธรรมชาติ (natural language)คือ การบัญญัติเพื่อใช้แยกความแตกต่างระหว่างภาษาทั่ว ๆ ไปที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเพื่อการสื่อสาร เช่น ภาษามนุษย์ ออกจากภาษาที่ถูกสร้างขึ้นอย่าง เช่น ภาษาโปรแกรมสำหรับสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือภาษาที่ใช้ในการศึกษาตรรกกะ     ภาษา ธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ  (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์    การที่เรียกว่าภาษาธรรมชาติ     เพราะมนุษย์สามารถใช้ภาษาพูดป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง   ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แล้วคอมพิวเตอร์ก็จะแปลคำสั่งเหล่านั้น ให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">ใบงานที่</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\">2</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">เรื่องการพัฒนาโปรแกรม</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">คำชี้แจง :ให้นักเรียนเขียนคำตอบให้ละเอียด</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\">1. .<span lang=\"TH\">ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมของโปรเจ็คนักเรียน</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></b></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">1. การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดการประมวลผลที่ต้องการ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"><span></span><span lang=\"TH\">1.1 การระบุข้อมูลเข้า</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>-<span> </span>ชื่อ นามสกุล</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- เบอร์โทรศัพท์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- อีเมล์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- วันที่สั่งจอง </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">- วันที่โอนเงิน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span> </span></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- จำนวนสินค้าที่สั่งจอง</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"></span></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">1.2 การระบุข้อมูลออก<br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- จำนวนสินค้า</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">- วันที่ส่งสินค้า</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">- ราคา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</div>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"><span></span><span lang=\"TH\">1.3 วิธีการประมวลผล</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>วันที่สั่งจอง </span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\">–<span lang=\"TH\"> [ข้อมูลเข้า</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">วันที่โอนเงินและราคา [ข้อมูลออก</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">เลือกสินค้า </span>[<span lang=\"TH\">ข้อมูลเข้า</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">ข้อมูลส่วนตัวต่างๆ<span> </span></span>[<span lang=\"TH\">ข้อมูลเข้า</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">ยืนยันการสั่งสินค้า [ข้อมูลออก</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993366\">2. การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เพื่อเป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม</span></span></span> </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><img width=\"514\" src=\"/files/u8201/12.gif\" height=\"343\" /><span style=\"color: #993366\"> </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">3. การลงรหัสโปรแกรม เพื่อเปลี่ยนขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ff00\">4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมกำหนดการทำงานของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span></span>โดยการทดสอบจะนำไปใช้งานเปรียบเทียบกับระบบที่เว็ปไซต์ใช้อยู่ปัจจุบัน หากพบข้อผิดพลาดก็ดำเนินการแก้ไข และนำไปทดสอบอีกครั้ง </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\">5. การทำเอกสารประกอบโปรแกรมเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้รู้จักการใช้โปรแกรม<br />\nนอกจากนี้ยังใช้เอกสารประกอบการตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงโปรแกรม </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<hr SIZE=\"2\" width=\"100%\" />\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">ใบงานที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\">3</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">เรื่องการวิเคราะห์ปัญหา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">คำชี้แจง :ให้นักเรียนเขียนคำตอบให้ละเอียด</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Cordia New\'\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\">1. <span lang=\"TH\">ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา ของโปรเจคของนักเรียน</span> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดการประมวลผลที่ต้องการ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\">1.1 การระบุข้อมูลเข้า</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>-<span> </span>ชื่อ นามสกุล</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- เบอร์โทรศัพท์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- อีเมล์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- วันที่สั่งจอง </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">- วันที่โอนเงิน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- จำนวนสินค้าที่สั่งจอง</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"></span></span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">1.2 การระบุข้อมูลออก<br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>- จำนวนสินค้า</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">- วันที่ส่งสินค้า</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">- ราคา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span> </span></span></span></span>\n</div>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\">1.3 วิธีการประมวลผล</span></span> </span></span></span><br />\n<span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span></span>วันที่สั่งจอง </span><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\">–<span lang=\"TH\"> [ข้อมูลเข้า</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">วันที่โอนเงินและราคา [ข้อมูลออก</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">เลือกสินค้า </span>[<span lang=\"TH\">ข้อมูลเข้า</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">ข้อมูลส่วนตัวต่างๆ<span> </span></span>[<span lang=\"TH\">ข้อมูลเข้า</span>]<span lang=\"TH\"><span> </span></span>&gt;<span> </span><span lang=\"TH\">ยืนยันการสั่งสินค้า [ข้อมูลออก</span>]</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Cordia New\'\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\"><strong><span style=\"font-size: large\">ใบงานที่ 4</span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span> \n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 7.2pt 0cm 14.4pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เรื่องการลงรหัสโปรแกรม</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span> <b><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คำชี้แจง :ให้นักเรียนเขียนคำตอบให้ละเอียด</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><v:shapetype path=\"m@0,qx0@0l0@2qy@0,21600l@1,21600qx21600@2l21600@0qy@1,xe\" adj=\"2700\" o:spt=\"176\" coordsize=\"21600,21600\" id=\"_x0000_t176\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"val #0\"></v:f><v:f eqn=\"sum width 0 #0\"></v:f><v:f eqn=\"sum height 0 #0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @0 2929 10000\"></v:f><v:f eqn=\"sum width 0 @3\"></v:f><v:f eqn=\"sum height 0 @3\"></v:f><v:f eqn=\"val width\"></v:f><v:f eqn=\"val height\"></v:f><v:f eqn=\"prod width 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod height 1 2\"></v:f></v:formulas><v:path textboxrect=\"@3,@3,@4,@5\" o:connectlocs=\"@8,0;0,@9;@8,@7;@6,@9\" o:connecttype=\"custom\" limo=\"10800,10800\" gradientshapeok=\"t\"></v:path></v:shapetype><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">1.ให้นักเรียนเขียนผังงานแสดงการทำงานเว็บไซต์ที่นักเรียนทำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"316\" src=\"/files/u8173/2.jpg\" height=\"476\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 7.2pt 0cm 14.4pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">2.</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">  <span lang=\"TH\">ให้นักเรียนเขียน </span>context  daiagram<span lang=\"TH\"> เพื่อแสดงการไหลของข้อมูลของโปรเจคนักเรียน โดยให้เขียนในลักษณะภาพรวม</span>  <span lang=\"TH\">ไม่ต้องใส่ </span>level<span lang=\"TH\"> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span> <img border=\"0\" width=\"595\" src=\"/files/u8173/3.jpg\" height=\"441\" />\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ใบงานที่ 5<span>  </span></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-weight: bold; font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\">                                เรื่อง ลิขสิทธิ์กับชีวิตประจำวัน</span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: medium; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 16px\" class=\"Apple-style-span\"><b><br />\n </b></span></span><span style=\"font-size: medium; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 16px\" class=\"Apple-style-span\"><b></b></span></span><span style=\"font-size: medium; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 16px\" class=\"Apple-style-span\"><b></b></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">คำชี้แจง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">: <span lang=\"TH\">ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้</span></span>\n </p>\n<p> \n</p></blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\">1. ลิขสิทธิ์คืออะไร</span>\n </p>\n<p>\n <u><strong>ตอบ</strong></u> <strong>ลิขสิทธิ์</strong> หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์งานที่จะกระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น โดยการแสดงออกตามประเภทงานลิขสิทธิ์ต่างๆ<br />\n <b>ลิขสิทธิ์</b> เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญาความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะสร้างสรรค์งานขึ้น ซึ่งถือว่าเป็น &quot; ทรัพย์สินทางปัญญา&quot; ประเภทหนึ่งที่มีค่าทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเจ้าของผลงานลิขสิทธิ์ จึงควรได้รับความคุ้มครองตามกฏหมาย <br />\n <b>ลิขสิทธิ์ </b>เป็นทรัพย์สินที่สามารถซื้อ ขาย โอนสิทธ์ กันได้ ทั้งทางมรดก หรือโดยวิธีอื่นๆ การโอนลิขสิทธิ์ควรที่จะทำเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทำเป็นสัญญาให้ชัดเจ็น จะโอนสิทธ์ทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\"></span><span style=\"font-size: 16px; line-height: 25px; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">2. ให้นักเรียนอธิบายคำว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"AR-SA\">ใครคือเจ้าของลิขสิทธิ์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <u><strong>ตอบ</strong></u> เจ้าของลิขสิทธิ์นอกจากจะเป็นผู้สร้างสรรค์งานแล้ว บุคคลอื่นอาจมีสิทธิ์ในงานที่สร้างสรรค์นั้นก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงต่างๆ ในการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ เช่น การสร้างสรรค์งานร่วมกัน การว่าจ้างให้สร้างสรรค์งาน การโอนสิทธิ์ในลิขสิทธิ์ เป็นต้น ดังนั้นผู้มีลิขสิทธิ์จะเป็นบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ต่อไปนี้<br />\n 1. ผู้สร้างสรรค์งานขึ้นใหม่ ทั้งที่สร้างสรรค์งานด้วยตนเองเพียงผู้เดียว หรือผู้สร้างสรรค์งานร่วมกัน<br />\n 2. ผู้สร้างสรรค์ในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง<br />\n 3. ผู้ว่าจ้าง<br />\n 4. ผู้รวบรวมหรือประกอบกันเข้า<br />\n 5. กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น<br />\n 6. ผู้รับโอนสิขสิทธิ์<br />\n 7. ผู้สร้างสรรค์ซึ่งเป็นคนชาติภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศ เช่น อนุสัญญากรุงเบอร์น และประเทศในภาคีสมาชิกโองการค้าโลก<br />\n 8. ผู้พิมพ์โฆษณางานที่ใช้นามแฝงหรือนามปากกาที่ไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: 16px; line-height: 25px; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><span></span></span></span><span style=\"font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\">3.การละเมิดลิขสิทธิ์สามารถทำได้กี่แบบ อะไรบ้าง อธิบายโดยละเอียด</span>\n </p>\n<p>\n <u><strong>ตอบ</strong></u> ทำได้2 แบบคือ<br />\n 1.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง คือ การทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชน รวมทั้งการนำต้นฉบับหรือสำเนางานดังกล่าวออกให้เช่า โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์<br />\n 2.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม :คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าวข้างต้นโดยผู้กระทำรู้อยู่แล้ว\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\"></span><span style=\"font-size: 16px; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">4.</span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">การแจ้ง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ข้อมูลลิขสิทธิ์มีขั้นตอนอย่างไร ให้นักเรียนอธิบายโดยละเอียด</span></span>\n </p>\n<p>\n <u><strong>ตอบ</strong></u> ลิขสิทธิ์ เป็นสิทธิ์ที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงานโดยไม่ต้องจดทะเบียน อย่างไรก็ตาม กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ได้รับทำให้มีการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น<br />\n เอกสารและหลักฐานประกอบการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์<br />\n - แบบพิมพ์คำขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ จำนวน 2 ชุด ซึ่งผู้แจ้งจะต้องกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ครบถ้วน เช่น ประเภทของงาน ชื่อผู้แจ้ง ชื่อผู้สร้างสรรค์ สถานที่ติดต่อ ลักษณะของงาน วิธีการสร้างสรรค์ เป็นต้น<br />\n - หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หนังสือรับรองนิติบุคคล หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)<br />\n - ผลงานลิขสิทธิ์ที่สร้างสรรค์ จำนวน 1 ชุด<br />\n สถานที่ติดต่อเกี่ยวกับลิขสิทธิ์<br />\n การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ สามารถดำเนินการได้ ดังนี้<br />\n - ส่วนจัดการงานลิขสิทธิ์ สำนักลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์<br />\n - สำนักงานพาณิชย์จังหวัด ทุกจังหวัด ที่เจ้าของลิขสิทธิ์มีภูมิลำเนาอยู่ และไม่มีค่าธรรมเนียมใด ๆ ทั้งสิ้น\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><hr style=\"width: 642px; height: 7px\" id=\"null\" /></blockquote>\n<blockquote><p>\n                                                                              <span style=\"font-weight: bold; font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\">ใบงานที่ 6<span> </span></span>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><p align=\"center\">\n <span style=\"font-weight: bold; font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\"><span>                          เรื่อง ธุรกิจซอฟแวร์กับการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์</span></span>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<p style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><span style=\"font-weight: normal; font-size: 16px; font-family: \'Times New Roman\'\" class=\"Apple-style-span\"></span></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><b>คำชี้แจง </b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><b>: </b><span lang=\"TH\"><b>ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้</b></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><b></b></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\">1. ธุรกิจซอฟแวร์คืออะไร</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><strong>ตอบ</strong></u> สืบเนื่องจากความพยายามในการปรับปรุงกฏหมายลิขสิทธิ์ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ในการรวบรวมความคิดเห็นเพื่อประกอบแนวทางในการปรับปรุงกฏหมายครั้งนี้ ได้ให้ความสำคัญกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในการรวมกำหนดแนวทางป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา โดยตัวแทนของสมาคมได้เสนอแนวทางที่เป็นจุดยืน 7 ประเด็น ในการปรับปรุงกฏหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ของประเทศไทย\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">2. </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">รูปแบบของการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร์เป็นอย่างไร</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><strong>ตอบ</strong></u> ซอฟต์แวร์ มีรูปแบบของการกระทำที่ละเมิดลิขสิทธิ์ได้หลายรูปแบบ เริ่มจากการทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่ายหรือที่รู้จักดีในชื่อ แผ่นก็อปปี้, การละเมิดด้วยการบันทึกลงในเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมจำหน่าย, การทำซ้ำภายในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน กรณีนี้เป็นการละเมิดที่รุนแรงที่สุดคิดเป็นการละเมิดร้อยละ ๕๐ ของความเสียหายในการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ทั้งหมด และรูปแบบการละเมิดที่กำลังมาแรงที่สุดด้วยการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์จากอินเทอร์เน็ต\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">3.</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ให้นักเรียนอธิบายการสังเกตซอฟแวร์ที่ละเมิดลิขสิทธิ์</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><strong>ตอบ</strong></u><br />\n1.ซอฟต์แวร์ราคาถูกจนไม่น่าเชื่อ<br />\n2.โปรแกรมนั้นอยู่ในแผ่น CD-ROM ที่บรรจะซอฟต์แวร์หลายชนิดซึ่งมักเป็นผลงานจากผู้ผลิตซอฟต์แวร์หลายบริษัท<br />\n3.ซอฟต์แวร์จำหน่ายโดยบรรจุในกล่องพลาสติกใสโดยไม่มีกล่องบรรจุภัณฑ์<br />\n4.ไม่มีเอกสารอนุญาตการใช้งาน หรือคู่มือการใช้งาน\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"></span> <span style=\"font-size: 21px; font-family: \'Angsana New\', serif\" class=\"Apple-style-span\">4. ให้นักเรียนอธิบายบทลงโทษของการละเมิดลิขสิทธิ์</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><strong>ตอบ</strong></u> <strong>การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง :</strong> มีโทษปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 200,000 บาท หากเป็นการกระทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตั้งแต่ 100,000 บาท ถึง 800,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ<br />\n<strong>การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม :</strong> มีโทษปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท หากเป็นการกระทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727479315, expire = 1727565715, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d7874859211401bbf7ba54a9cf94b0d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิชาคอมพิวเตอร์2

 

ใบงานที่1   เรื่อง รู้จักภาษาคอมพิวเตอร์

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

 


1. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) คืออะไร ให้อธิบายอย่างละเอียด  

  ตอบ    ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) คือภาษาที่ใช้ หรือเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมักใช้ร่วมกับภาษาโปรแกรม แต่ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นมีความหมายที่กว้างกว่า โดยไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นภาษาโปรแกรม ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าภาษาอย่าง HTML หรือ SQL   ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่ำ และภาษาระดับสูง

 

2.วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์เป็นอย่างไร จงอธิบาย 


ตอบ     ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการโดยลำดับเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคหรือเป็นรุ่นของภาษา (Generation) ซึ่งในยุคหลังๆจะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวกในการอ่านและเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆเนื่องจากจะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ  สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค  ดังนี้  

  1. ภาษาเครื่อง ในยุคแรก ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนคำสั่งด้วยภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกว่า ภาษาเครื่อง คำสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบด้วยกลุ่มของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง เป็นภาษาเดียวเท่านั้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคำสั่งของภาษาเครื่องจะประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทำงานอะไรเช่น สั่งให้ทำการบวกเลข สั่งให้ทำการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็นต้น และอีกส่วนเพื่อบอกแหล่งข้อมูลที่จะนำมาทำงานตามที่ระบุในตอนแรก โครงสร้างของคำสั่งในภาษาเครื่อง คำสั่งในภาษาเครื่องจะประกอบfด้วย 2 ส่วนคือ
            โอเปอเรชันโคด (Operation Code) เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เช่นการบวก (Addition) การลบ (Subtraction) เป็นต้น
           โอเปอแรนด์  (Operands)เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปปฏิบัติการตามคำสั่งในโอเปอเรชันโคด

2. ภาษาระดับต่ำหรือภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ(mnemonic codes)แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้

       A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวก

       S ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึง การลบ

       C ย่อมาจาก COMPLARE    หมายถึง การเปรียบเทียบ
       MP                        ย่อมาจาก MULTIPLY     หมายถึง                      การคูณ
       ST                          ย่อมาจาก SRORE              หมายถึง                    การเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ เป็นต้น                 ถึงแม้ว่าสัญลักษณ์เหล่านี้จะไม่ใช่คำที่มีความหมายในภาษาอังกฤษแต่ก็ทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้สะดวกสะบายมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องสะดวกสบายมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องจดจำ 0 และ1 ของเลขฐานสองอีกนอกจากนี้ภาษาแอสเซมบลียังอนุญาติให้ผู้เขียนใช้ตัวแปรที่ตั้งขึ้นมาเองในการเก็บค่าข้อมมูลใด ๆ เช่น X, Y, RATE หรือ TOTAL แทนการอ้างอิงถึงตำแหน่งที่เก็บข้อมูลจริงๆ ภายในหน่วยความจำดังได้กล่าวแล้วว่าเครื่องคอมพิวเตอร์จะรู้จักเฉพาะภาษาเครื่องเท่านั้นดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการแปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีนั้นให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อนเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมได้การแปลภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่องนั้นจะต้องมีตัวแปลภาษาแอสเซมบลีที่เรียกว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปล ซึ่งภาษาแอสเซมบลี 1คำสั่งจะสามารถแปลเป็นภาษาเครื่องได้ 1 คำสั่งเช่นกัน ดังนั้นเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 10 คำสั่ง ก็จะถูกแปลเป็นภาษาเครื่อง 10 คำสั่งเช่นกันจึงเห็นได้ว่าภาษาแอสเซมบลีจะมีลักษณะที่เหมือนกับภาษาเครื่องคือ เป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับเครื่อง กล่าวคือเราไม่สามารถนำโปรแกรมที่เขียนด้วยแอสเซมบลีโปรแกรมเดียวกันไปใช้ในเครื่องต่างชนิดกันได้และนอกจากนี้ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีได้จะต้องมีความรู้   ความเข้าใจในเรื่องของฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีเนื่องจากจะต้องยุ่งเกี่ยวกับการใช้งานหน่วยความจำที่เป็นงานหน่วยความจำที่เป็นรีจิสเตอร์ภายในตลอดดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้เขียนในงานที่ต้องการความเร็วในการทำงานสูง เช่น งานทางด้านกราฟิกหรืองานพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบต่าง ๆอย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าภาษานี้จะง่ายกว่าการเขียนด้วยภาษาเครื่อง แต่ก็ยังถือว่าเป็นภาษาชั้นต่ำที่ยังยากต่อการเขียนและการเรียนรู้มากสำหรับผู้ที่ไม่ความรู้เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์เท่าใดนัก    3.      ภาษาระดับสูง                   สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3(3rd Generation Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สำคัญคือผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) เบสิก (BASIC) ปาสคาล (PASCAL) ซี (C) เอดา (ADA)อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทำงานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งวิธีการแปลงจากภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จะทำได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า คอมไพเลอร์ (Compiler) หรือ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของตัวเอง ดังนั้นจึงไม่สามารถนำตัวแปลภาษาที่เรียกว่า โคบอลคอมไพเลอร์ไม่สามารถนำคอมไพเลอร์ของภาษาโคบอลนี้ไปใช้แปลภาษาปาสคาลได้ เป็นต้น สำหรับความแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์จะมีดังต่อไปนี้ คอมไพเลอร์ (Compiler)                      จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้นก็จะแจ้งให้ทราบ เรียกข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา(Syntax Error) นี้ได้ว่าเป็น ข้อความไดแอคนอสติค (Diagnostic Message) เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมทำการแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วจึงค่อยสั่งให้แปลใหม่ โปรแกรมที่ยังไม่ผ่านการแปลจะเรียกว่า ซอร์สโปรแกรม (Source Program) หรือ ซอร์สโมดูล (Source module) แต่ถ้าผ่านการแปลเรียบร้อยและไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ จะเรียกโปรแกรมส่วนนี้ว่า ออปเจกต์โปรแกรม (Object Program) หรือออปเจกต์โมดูล (Object Module)ออปเจกต์โปรแกรมนี้ยังไม่สามารถทำงานได้ จะต้องผ่านการลิงค์ (Link) หรือรวมเข้ากับไลบรารี่ (Library)ของระบบก่อนจึงจะเป็นโปรแกรมที่สามารถทำงานได้หรือเป็นภาษาเครื่องทีเรียกว่า เอ็กซ์ซีคิวท์โปรแกรม (Execute Program)หรือ โหลดโมดูล (Load Module) ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .exe หรือ.comและสามารถนำโปรแกรมนี้ไปใช้งานได้ตลอดโดยไม่ต้องสั่งแปลใหม่อีก แต่ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรมแม้เพียงเล็กน้อยก็ต้องทำการแปลใหม่หมดตั้งแต่ต้น อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

                     เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไปถ้าในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดทีบรรทัดใดก็จะฟ้องให้ทำการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันทีอินเตอร์พรีเตอร์นี้เมื่อโปรแกรมเสร็จแล้วจะไม่สามารถเก็บเป็นเอ็กซ์ซีคิวท์โปรแกรม (Execute Program) ได้ซึ่งต่างกับคอมไพเลอร์ดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานหรือรันโปรแกรมก็จะต้องทำการแปลหรือคอมไพล์โปรแกรมใหม่ทุกครั้งไปดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานเอ็กซ์ซีคิวท์

โปรแกรมย่อมจะทำงานได้เร็วกว่าการเรียกใช้งานโปรแกรมที่ต้องผ่านการแปลด้วยอินเตอร์พรีเตอร์แต่ประโยชน์ของภาษาที่ถูกแปลด้วยอินเตอร์พรีเตอร์คือโปรแกรมจะมีโครงสร้างที่ง่ายต่อการพัฒนาตัวอย่างของภาษาโปแกรมที่มีการใช้อินเตอร์พรีเตอร์เป็นตัวแปลภาษาได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาเพร์ล เป็นต้น  การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาชั้นสูงนั้นนอกจากจะให้ความสะดวกแก่ผู้เขียนเป็นอันมากแล้วผู้เขียนแทบจะไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการทำงาน ของระบบฮาร์ดแวร์ก็สามารถเขียนโปรแกรมสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้นอกจากนี้ยังมีข้อดีอีกอย่างคือสามารถนำโปรแกรมที่เขียนนี้ ไปใช้งานบนเครื่องใดก็ได้ คือมีลักษณะที่ไม่ขึ้นอยู่กับกับเครื่อง(Hardware Indepent)เพียงแต่ต้องทำการการแปลโปรแกรมใหม่เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามภาษาเครื่องที่ได้จากการแปลภาษาชั้นสูงนี้อาจเยิ่นเย้อและไม่มีประสิทธิภาพเท่ากับการเขียนด้วยภาษาเครื่องหรือแอสเซมบลีโดยตรงภาษารุ่นที่ 3 นี้ส่วนใหญ่จะจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาที่มีแบบแผน (Procedural language)เนื่องจากลักษณะการเขียนโปรแกรมจะมีโครงสร้างแบบแผนที่เป็นระเบียบ กล่าวคือ งานทุกอย่างผู้เขียนโปรแกรมต้องเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานเองทั้งหมด และต้องเขียนคำสั่งการทำงานที่เป็นขั้นตอนทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการสร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล การประมวลผล หรือการสร้างรายงาน ซึ่งโปรแกรมที่เขียนจะค่อนข้างซับซ้อนและใช้เวลาในการพัฒนาค่อนข้างยาก
4.  ภาษาชั้นสูงมาก (Very high - Level Language)                            สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs: Fourth Generation Languages)ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบนหน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres เป็นต้น ลักษณะของ 4GL มีดังต่อไปนี้  

      เป็นภาษาแบบ Nonprocedural ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้เพียงแต่บอกว่าต้องการอะไร แต่ไม่ต้องบอกถึงรายละเอียดว่าต้องทำอย่างไร คอมพิวเตอร์จะเป็นผู้จัดการให้เองหมด ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการสร้างแบบฟอร์มการรับข้อมูลจากผู้ใช้ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่ทำการออกแบบหน้าตาของแบบฟอร์มนั้นบนโปรแกรมอิดิเตอร์ (Editor) ใดๆ และเก็บเป็นไฟล์ไว้เมื่อจะเรียกใช้งานแบบฟอร์มนั้นเพียงแต่ใช้คำสั่งเปิดไฟล์นั้นขึ้นมาแสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยทันทีซึ่งต่างจากภาษารุ่นที่ 3 ซึ่งเป็นแบบ Proceduralผู้เขียนโปรแกรม จะต้องเขียนรายละเอียดของโปรแกรมทั้งหมดว่า ที่บรรทัดนี้คอลัมน์นี้จะให้แสดงข้อความหรือข้อมูลอะไรออกมา ซึ่งถ้าต่อไปจะมีการปรับเปลี่ยนหน้าตาของแบบฟอร์ม ก็จะเป็นเรื่องที่ยุ่งยากอย่างยิ่ง หรือในการสร้างรายงานด้วย 4GLs ก็สามารถทำได้อย่างง่ายดายเพียงแต่ระบุลงไปว่าต้องการรายงานอะไร มีข้อมูลใดที่จะนำมาแสดงบ้าง โดยไม่ต้องบอกถึงวิธีการสร้าง

หรือการดึงข้อมูลแต่อย่างใด 4GLsจะจัดการให้เองหมดส่วนใหญ่จะพบว่า 4GLs มักจะอยู่ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยผู้ใช้ระบบฐานข้อมูลจะสามารถจัดการฐานข้อมูลได้โดยผ่านทาง 4GLs นี้ ส่วนประกอบของภาษา 4GLs                  โดยทั่วไปแล้ว 4GLs จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนดังต่อไปนี้ เครื่องช่วยสร้างรายงาน (Report Generators)หรืออาจเรียกได้อีกอย่างว่า เครื่องมือช่วยเขียนรายงาน (Report Writer) เป็นโปรแกรมสำหรับผู้ใช้ (end - users) ให้สามารถสร้างรายงานอย่างง่ายได้ด้วยตนเอง โดยผู้ใช้สามารถกำหนดเงื่อนไขและข้อมูลที่จะออกมาพิมพ์ในรายงาน รวมไปถึงรูปแบบ (format) ของการพิมพ์ไว้ โปรแกรมช่วยสร้างรายงานนี้จะทำการพิมพ์รายงานตามรูปแบบที่เรากำหนดไว้ให้ภาษาช่วยค้นหาข้อมูล (Query Languages)เป็นภาษาที่ช่วยในการค้นหาหรือดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล ภาษานี้จะง่ายต่อการใช้งานมาก เนื่องจากจะอยู่ในรูปแบบที่ใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษมาก ตัวอย่างของภาษาช่วยค้นหาข้อมูลนี้ได้แก่ ภาษา SQL (Structured Query Language)ภาษา QBE (Query - By - Example) และ Intellect เป็นต้น   เครื่องมือช่วยสร้างโปรแกรม (Application Generators)   4GLs จะมีรูปแบบการเขียนโปรแกรมเฉพาะตัว และสามารถเรียกใช้เครื่องมือช่วยสร้างโปรแกรมนี้ทำการแปลง 4GLs ให้กลายเป็นโปรกรมในภาษารุ่นที่ 3 ได้ เช่น ภาษาโคบอล หรือ ภาษาซี เป็นต้น ซึ่งอาจนำภาษาโคบอล หรือซีที่แปลงได้
ไปพัฒนาต่อเพื่อใช้กับงานที่มีความซับซ้อนมากๆ ต่อไปได้ ประโยชน์ของ 4GL   เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้ คำสั่งแต่ละคำสั่งสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน ดังนั้น
           จึงสามารถใช้เวลาในการศึกษาสั้นกว่าภาษารุ่นที่ 3ประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรมได้มาก เนื่องจาก 1 คำสั่งของ 4GL ถ้าต้องเขียนด้วยภาษารุ่นที่ 3 อาจต้องเขียนถึง 100 กว่าคำสั่งในการทำงานแบบเดียวกันสนับสนุนระบบจัดการฐานข้อมูล ทำให้สามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างสะดวก และรวดเร็วสามารถสร้างแบบฟอร์มเพื่อจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล และออกรายงานได้อย่างง่ายดาย ไม่ยุ่งยากมีเครื่องมือการใช้งานเพื่ออำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรมมากพอสมควรสามารถทำงานได้ในลักษณะ Interactive คือมีการโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ทันที  5.    ภาษาธรรมชาติ         เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทำให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งที่สามารถคิดและตัดสินใจได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คอมพิวเตอร์สามารถตอบคำถามของมนุษย์ได้อย่างถูกต้องพร้อมทั้งมีข้อแนะนำต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้จะใช้กับงานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเช่น ในการแพทย์ ในการพยากรณ์อากาศ ในการวิเคราะห์ทางเคมี การลงทุน ฯลฯ ซึ่งในการนี้จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมหาศาลและให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาธรรมชาติในการดึงข้อมูลจากฐานความรู้นี้ได้ ดังนั้นเราจึงอาจเรียกระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้อีกอย่างว่าเป็นระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System)อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถนำมาแทนที่การทำงานของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ได้ เนื่องจากทั้งระบบผู้เชี่ยวชาญและมนุษย์จะต้องทำงานร่วมกัน โดยมนุษย์จะนำข้อมูลที่ได้จากระบบผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาร่วมกับวิจารญาณของตนเองเพื่อตัดสินปัญหาที่ซับซ้อนอีกที อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นคลื่นแห่งอนาคต ที่จะใช้เป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจการทำงานของมนุษย์ได้อย่างดีเยี่ยม       3.ให้นักเรียนอธิบายว่า  "ภาษาธรรมชาติ" คืออะไรแล้วเกี่ยวข้องอย่างไรกับภาษาคอมพิวเตอร์  ตอบ    ภาษาธรรมชาติ (natural language)คือ การบัญญัติเพื่อใช้แยกความแตกต่างระหว่างภาษาทั่ว ๆ ไปที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเพื่อการสื่อสาร เช่น ภาษามนุษย์ ออกจากภาษาที่ถูกสร้างขึ้นอย่าง เช่น ภาษาโปรแกรมสำหรับสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือภาษาที่ใช้ในการศึกษาตรรกกะ     ภาษา ธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ  (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์    การที่เรียกว่าภาษาธรรมชาติ     เพราะมนุษย์สามารถใช้ภาษาพูดป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง   ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แล้วคอมพิวเตอร์ก็จะแปลคำสั่งเหล่านั้น ให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ


 

ใบงานที่2

เรื่องการพัฒนาโปรแกรม

คำชี้แจง :ให้นักเรียนเขียนคำตอบให้ละเอียด

1. .ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมของโปรเจ็คนักเรียน

1. การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดการประมวลผลที่ต้องการ

1.1 การระบุข้อมูลเข้า

- ชื่อ นามสกุล

- ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้

- เบอร์โทรศัพท์

- อีเมล์

- วันที่สั่งจอง

- วันที่โอนเงิน

- จำนวนสินค้าที่สั่งจอง

1.2 การระบุข้อมูลออก

- จำนวนสินค้า

- วันที่ส่งสินค้า

- ราคา


1.3 วิธีการประมวลผล

วันที่สั่งจอง [ข้อมูลเข้า] > วันที่โอนเงินและราคา [ข้อมูลออก] > เลือกสินค้า [ข้อมูลเข้า] > ข้อมูลส่วนตัวต่างๆ [ข้อมูลเข้า] > ยืนยันการสั่งสินค้า [ข้อมูลออก]

2. การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เพื่อเป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม

3. การลงรหัสโปรแกรม เพื่อเปลี่ยนขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง

4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมกำหนดการทำงานของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง

โดยการทดสอบจะนำไปใช้งานเปรียบเทียบกับระบบที่เว็ปไซต์ใช้อยู่ปัจจุบัน หากพบข้อผิดพลาดก็ดำเนินการแก้ไข และนำไปทดสอบอีกครั้ง

5. การทำเอกสารประกอบโปรแกรมเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้รู้จักการใช้โปรแกรม
นอกจากนี้ยังใช้เอกสารประกอบการตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงโปรแกรม



ใบงานที่ 3

เรื่องการวิเคราะห์ปัญหา

คำชี้แจง :ให้นักเรียนเขียนคำตอบให้ละเอียด

1. ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา ของโปรเจคของนักเรียน

การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดการประมวลผลที่ต้องการ

1.1 การระบุข้อมูลเข้า

- ชื่อ นามสกุล

- ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้

- เบอร์โทรศัพท์

- อีเมล์

- วันที่สั่งจอง

- วันที่โอนเงิน


- จำนวนสินค้าที่สั่งจอง

1.2 การระบุข้อมูลออก

- จำนวนสินค้า

- วันที่ส่งสินค้า

- ราคา


1.3 วิธีการประมวลผล

วันที่สั่งจอง [ข้อมูลเข้า] > วันที่โอนเงินและราคา [ข้อมูลออก] > เลือกสินค้า [ข้อมูลเข้า] > ข้อมูลส่วนตัวต่างๆ [ข้อมูลเข้า] > ยืนยันการสั่งสินค้า [ข้อมูลออก]


 

ใบงานที่ 4  

เรื่องการลงรหัสโปรแกรม

 คำชี้แจง :ให้นักเรียนเขียนคำตอบให้ละเอียด

1.ให้นักเรียนเขียนผังงานแสดงการทำงานเว็บไซต์ที่นักเรียนทำ

2.  ให้นักเรียนเขียน context  daiagram เพื่อแสดงการไหลของข้อมูลของโปรเจคนักเรียน โดยให้เขียนในลักษณะภาพรวม  ไม่ต้องใส่ level

 


ใบงานที่ 5 

                                เรื่อง ลิขสิทธิ์กับชีวิตประจำวัน 

 


คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. ลิขสิทธิ์คืออะไร

ตอบ ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์งานที่จะกระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น โดยการแสดงออกตามประเภทงานลิขสิทธิ์ต่างๆ
ลิขสิทธิ์ เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญาความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะสร้างสรรค์งานขึ้น ซึ่งถือว่าเป็น " ทรัพย์สินทางปัญญา" ประเภทหนึ่งที่มีค่าทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเจ้าของผลงานลิขสิทธิ์ จึงควรได้รับความคุ้มครองตามกฏหมาย
ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินที่สามารถซื้อ ขาย โอนสิทธ์ กันได้ ทั้งทางมรดก หรือโดยวิธีอื่นๆ การโอนลิขสิทธิ์ควรที่จะทำเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทำเป็นสัญญาให้ชัดเจ็น จะโอนสิทธ์ทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้

 

2. ให้นักเรียนอธิบายคำว่า ใครคือเจ้าของลิขสิทธิ์  

ตอบ เจ้าของลิขสิทธิ์นอกจากจะเป็นผู้สร้างสรรค์งานแล้ว บุคคลอื่นอาจมีสิทธิ์ในงานที่สร้างสรรค์นั้นก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงต่างๆ ในการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ เช่น การสร้างสรรค์งานร่วมกัน การว่าจ้างให้สร้างสรรค์งาน การโอนสิทธิ์ในลิขสิทธิ์ เป็นต้น ดังนั้นผู้มีลิขสิทธิ์จะเป็นบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ต่อไปนี้
1. ผู้สร้างสรรค์งานขึ้นใหม่ ทั้งที่สร้างสรรค์งานด้วยตนเองเพียงผู้เดียว หรือผู้สร้างสรรค์งานร่วมกัน
2. ผู้สร้างสรรค์ในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง
3. ผู้ว่าจ้าง
4. ผู้รวบรวมหรือประกอบกันเข้า
5. กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น
6. ผู้รับโอนสิขสิทธิ์
7. ผู้สร้างสรรค์ซึ่งเป็นคนชาติภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศ เช่น อนุสัญญากรุงเบอร์น และประเทศในภาคีสมาชิกโองการค้าโลก
8. ผู้พิมพ์โฆษณางานที่ใช้นามแฝงหรือนามปากกาที่ไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์

 

3.การละเมิดลิขสิทธิ์สามารถทำได้กี่แบบ อะไรบ้าง อธิบายโดยละเอียด

ตอบ ทำได้2 แบบคือ
1.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง คือ การทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชน รวมทั้งการนำต้นฉบับหรือสำเนางานดังกล่าวออกให้เช่า โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์
2.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม :คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าวข้างต้นโดยผู้กระทำรู้อยู่แล้ว

 

4.การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์มีขั้นตอนอย่างไร ให้นักเรียนอธิบายโดยละเอียด

ตอบ ลิขสิทธิ์ เป็นสิทธิ์ที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงานโดยไม่ต้องจดทะเบียน อย่างไรก็ตาม กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ได้รับทำให้มีการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น
เอกสารและหลักฐานประกอบการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์
- แบบพิมพ์คำขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ จำนวน 2 ชุด ซึ่งผู้แจ้งจะต้องกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ครบถ้วน เช่น ประเภทของงาน ชื่อผู้แจ้ง ชื่อผู้สร้างสรรค์ สถานที่ติดต่อ ลักษณะของงาน วิธีการสร้างสรรค์ เป็นต้น
- หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หนังสือรับรองนิติบุคคล หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
- ผลงานลิขสิทธิ์ที่สร้างสรรค์ จำนวน 1 ชุด
สถานที่ติดต่อเกี่ยวกับลิขสิทธิ์
การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ สามารถดำเนินการได้ ดังนี้
- ส่วนจัดการงานลิขสิทธิ์ สำนักลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
- สำนักงานพาณิชย์จังหวัด ทุกจังหวัด ที่เจ้าของลิขสิทธิ์มีภูมิลำเนาอยู่ และไม่มีค่าธรรมเนียมใด ๆ ทั้งสิ้น

 


                                                                             ใบงานที่ 6 

 

                          เรื่อง ธุรกิจซอฟแวร์กับการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์

 

 คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

 

 1. ธุรกิจซอฟแวร์คืออะไร

ตอบ สืบเนื่องจากความพยายามในการปรับปรุงกฏหมายลิขสิทธิ์ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ในการรวบรวมความคิดเห็นเพื่อประกอบแนวทางในการปรับปรุงกฏหมายครั้งนี้ ได้ให้ความสำคัญกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในการรวมกำหนดแนวทางป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา โดยตัวแทนของสมาคมได้เสนอแนวทางที่เป็นจุดยืน 7 ประเด็น ในการปรับปรุงกฏหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ของประเทศไทย

2. รูปแบบของการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร์เป็นอย่างไร

ตอบ ซอฟต์แวร์ มีรูปแบบของการกระทำที่ละเมิดลิขสิทธิ์ได้หลายรูปแบบ เริ่มจากการทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่ายหรือที่รู้จักดีในชื่อ แผ่นก็อปปี้, การละเมิดด้วยการบันทึกลงในเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมจำหน่าย, การทำซ้ำภายในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน กรณีนี้เป็นการละเมิดที่รุนแรงที่สุดคิดเป็นการละเมิดร้อยละ ๕๐ ของความเสียหายในการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ทั้งหมด และรูปแบบการละเมิดที่กำลังมาแรงที่สุดด้วยการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์จากอินเทอร์เน็ต

3.ให้นักเรียนอธิบายการสังเกตซอฟแวร์ที่ละเมิดลิขสิทธิ์

ตอบ
1.ซอฟต์แวร์ราคาถูกจนไม่น่าเชื่อ
2.โปรแกรมนั้นอยู่ในแผ่น CD-ROM ที่บรรจะซอฟต์แวร์หลายชนิดซึ่งมักเป็นผลงานจากผู้ผลิตซอฟต์แวร์หลายบริษัท
3.ซอฟต์แวร์จำหน่ายโดยบรรจุในกล่องพลาสติกใสโดยไม่มีกล่องบรรจุภัณฑ์
4.ไม่มีเอกสารอนุญาตการใช้งาน หรือคู่มือการใช้งาน

 4. ให้นักเรียนอธิบายบทลงโทษของการละเมิดลิขสิทธิ์

ตอบ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : มีโทษปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 200,000 บาท หากเป็นการกระทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตั้งแต่ 100,000 บาท ถึง 800,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม : มีโทษปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท หากเป็นการกระทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 332 คน กำลังออนไลน์