• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('วิทยาศาสตร์, ช่วงชั้น 3 (ม.1-3)', 'taxonomy/term/2,13', '', '18.117.8.37', 0, '82131b95ff72b4bc33f861a1d3de0fe6', 203, 1716888791) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9a11bae2ea6654fea5012d36731d1d88' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff9900; color: #800080\"><strong>   8. ระบบขับถ่าย   </strong></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/11.jpg\" align=\"middle\" height=\"203\" width=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : <a href=\"http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/pic/11.jpg\">http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/pic/11.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                     <span style=\"color: #ff0000\">ไต  มีหน้าที่ขับถ่ายของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายได้สูงสุดระหว่างช่วงเช้าถึงเที่ยงวัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">การขับ K+(potassium) ของทารกในครรภ์เริ่มตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 4-20 และขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น การนอนหลับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"> การเคลื่อนไหว รวมถึงการทำงานของต่อมหมวกไต  </span>\n</p>\n<p>\n                    <span style=\"color: #ff6600\"> คนปกติที่นอน 23.00 น. ตื่นนอน 07.00 น. การขับของเสียสูงสุดในช่วงกลางวัน 10.30-16.30 น. </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">และต่ำสุดช่วงกลางคืน (เวลานอนหลับ)</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<em><strong><span style=\"color: #fb0389\">การทำงานของระบบขับถ่าย</span></strong></em>\n</p>\n<p>\n                      <span style=\"color: #3366ff\">ในร่างกายของเราจะมีการทำงานของกระบวนการของเนื้อเยื่อต่างๆ ซึ่งจะทำให้มีของเสียเกิดขึ้น เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกลือแร่ ยูเรีย เป็นต้น และจำเป็นต้องขับถ่ายออกไปจากร่างกายซึ่งเป็นการทำงานของระบบขับถ่าย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">โดยกระบวนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายประกอบไปด้วย การกำจัดของเสียทางไต การกำจัดของเสียทางผิวหนัง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">การกำจัดของเสียทางปอด และการกำจัดของเสียทางลำไส้ใหญ่</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<em><span style=\"color: #fb0389\"><strong>การกำจัดของเสียทางไต</strong></span></em> \n</p>\n<p>\n                        <span style=\"color: #3366ff\">- ทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดแล้วนำออกนอกร่างกายเปป็นการทำงานของระบบขับถ่ายใน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">รูปของปัสสาวะ</span>\n</p>\n<p>\n                         <span style=\"color: #008000\">1) ไต  ( kidneys )  รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว  ตั้งอยู่ทางด้านหลังของช่องท้องด้านซ้ายและขวา  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด ขับออกมาเป็นน้ำปัสสาวะไหลไปตามท่อเล็กๆในไต  โดยไปรวมกันที่กรวยไต  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">จากนั้นก็ไหลผ่านท่อไตลงสู่กระเพาะปัสสาวะ  พร้อมที่จะขับออกมานอกร่างกายทางท่อปัสสาวะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">                         2) ท่อไต (ureters )เป็นท่อที่ออกมาจากไตในแต่ละข้างไปสู่กระเพาะปัสสาวะ มีความยาวประมาณ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">10-12 นิ้ว ท่อไตจะรองรับปัสสาวะจากไต แล้วบีบรัดตัวเป็นระยะๆ ให้น้ำปัสสาวะลงไปสู่กระเพาะปัสสาวะเป็นหยดๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">                         3) กระเพาะปัสสาวะ( bladder)  มีลักษณะคล้ายถุงวางตัวอยู่ในช่องกระดูกเชิงกราน มีผนังที่ประกอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ด้วยกล้ามเนื้อเรียบ 3 ชั้นสามารถบรรจุน้ำปัสสาวะได้ประมาณ 1.5 ล. </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">                         4) ท่อปัสสาวะ (urethra) เป็นท่อเล็กๆ ที่ออกมาจากกระเพาปัสสาวะเพื่อจะนำน้ำปัสสาวะออกไปนกร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">เพศหญิงท่อปัสสาวะยาวประมาณ 1-1 ½ นิ้ว เพศชายท่อปัสสาวะยาวประมาณ 8 นิ้ว</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #fb0389\"><em><strong>การจัดของเสียทางลำไส้ใหญ่</strong></em></span> \n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">หรือที่เราเรียกว่า อุจจาระทำหน้าที่ขับกากอาหารที่เหลือจากการย่อยอาหารออกจากร่างกายเป็นการทำงานของ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ระบบขับถ่ายในรูปของอุจจาระ</span>\n</p>\n<p>\n                           <span style=\"color: #008000\">1) ลำไส้ใหญ่  ทำหน้าที่ดูดซึมน้ำและเกลือแร่ออกจากกากอาหาร  และขับเมือกออกมาหล่อลื่นให้กากอาหาร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ส่วนที่แข็งเคลื่อนที่ผ่านไปได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">                           2) ทวารหนัก ทำหน้าที่เป็นทางระบายอุจจาระ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #fb0389\"><em><strong>การกำจัดของเสียทางปอด</strong></em></span>\n</p>\n<p>\n                   <span style=\"color: #3366ff\">ของเสียที่กำจัดทางปอดจะเป็นการหายใจเอาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย ซึ่งจะเป็นการทำงาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ของระบบหายใจ โดยจะกล่าวในเรื่องต่อไป</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><em><span style=\"color: #fb0389\">การกำจัดของเสียทางผิวหนัง</span></em></strong>\n</p>\n<p>\n                 <span style=\"color: #3366ff\">  ของเสียที่กำจัดออกทางผิวหนังจะอยู่ในรูปของเหลวที่เรียกว่า เหงื่อ โดยผ่านออก ทางต่อมเหงื่อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">( sweet gland) ที่มีอยู่ใต้ผิวหนังทั่วร่างกาย เหงื่อจะประกอบด้วยน้ำเป็นส่วนใหญ่  และเกลือบางชนิด ทำให้เหงื่อมีรสเค็ม</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #fb0389\"><em><strong>การปฏิบัติตนเพื่อดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย</strong></em></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"> ดื่มน้ำสะอาดวันละมาก ๆ รับประทานอาหารที่สุกใหม่ ๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"> ไม่กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">  ควรอาบน้ำชำระร่างกายทุกวัน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">  ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ถ้ามีอาการผิดปกติต้องรีบปรึกษาแพทย์ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1716888801, expire = 1716975201, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9a11bae2ea6654fea5012d36731d1d88' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบการขับถ่าย

 

 

 

   8. ระบบขับถ่าย    

 

 

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/pic/11.jpg

 

                     ไต  มีหน้าที่ขับถ่ายของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายได้สูงสุดระหว่างช่วงเช้าถึงเที่ยงวัน

การขับ K+(potassium) ของทารกในครรภ์เริ่มตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 4-20 และขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น การนอนหลับ

 การเคลื่อนไหว รวมถึงการทำงานของต่อมหมวกไต 

                     คนปกติที่นอน 23.00 น. ตื่นนอน 07.00 น. การขับของเสียสูงสุดในช่วงกลางวัน 10.30-16.30 น.

และต่ำสุดช่วงกลางคืน (เวลานอนหลับ)

 

การทำงานของระบบขับถ่าย

                      ในร่างกายของเราจะมีการทำงานของกระบวนการของเนื้อเยื่อต่างๆ ซึ่งจะทำให้มีของเสียเกิดขึ้น เช่น

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกลือแร่ ยูเรีย เป็นต้น และจำเป็นต้องขับถ่ายออกไปจากร่างกายซึ่งเป็นการทำงานของระบบขับถ่าย

โดยกระบวนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายประกอบไปด้วย การกำจัดของเสียทางไต การกำจัดของเสียทางผิวหนัง

การกำจัดของเสียทางปอด และการกำจัดของเสียทางลำไส้ใหญ่

 

การกำจัดของเสียทางไต 

                        - ทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดแล้วนำออกนอกร่างกายเปป็นการทำงานของระบบขับถ่ายใน

รูปของปัสสาวะ

                         1) ไต  ( kidneys )  รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว  ตั้งอยู่ทางด้านหลังของช่องท้องด้านซ้ายและขวา 

ทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด ขับออกมาเป็นน้ำปัสสาวะไหลไปตามท่อเล็กๆในไต  โดยไปรวมกันที่กรวยไต 

จากนั้นก็ไหลผ่านท่อไตลงสู่กระเพาะปัสสาวะ  พร้อมที่จะขับออกมานอกร่างกายทางท่อปัสสาวะ

                         2) ท่อไต (ureters )เป็นท่อที่ออกมาจากไตในแต่ละข้างไปสู่กระเพาะปัสสาวะ มีความยาวประมาณ

10-12 นิ้ว ท่อไตจะรองรับปัสสาวะจากไต แล้วบีบรัดตัวเป็นระยะๆ ให้น้ำปัสสาวะลงไปสู่กระเพาะปัสสาวะเป็นหยดๆ

                         3) กระเพาะปัสสาวะ( bladder)  มีลักษณะคล้ายถุงวางตัวอยู่ในช่องกระดูกเชิงกราน มีผนังที่ประกอบ

ด้วยกล้ามเนื้อเรียบ 3 ชั้นสามารถบรรจุน้ำปัสสาวะได้ประมาณ 1.5 ล.

                         4) ท่อปัสสาวะ (urethra) เป็นท่อเล็กๆ ที่ออกมาจากกระเพาปัสสาวะเพื่อจะนำน้ำปัสสาวะออกไปนกร่างกาย

เพศหญิงท่อปัสสาวะยาวประมาณ 1-1 ½ นิ้ว เพศชายท่อปัสสาวะยาวประมาณ 8 นิ้ว

 

การจัดของเสียทางลำไส้ใหญ่ 

                  หรือที่เราเรียกว่า อุจจาระทำหน้าที่ขับกากอาหารที่เหลือจากการย่อยอาหารออกจากร่างกายเป็นการทำงานของ

ระบบขับถ่ายในรูปของอุจจาระ

                           1) ลำไส้ใหญ่  ทำหน้าที่ดูดซึมน้ำและเกลือแร่ออกจากกากอาหาร  และขับเมือกออกมาหล่อลื่นให้กากอาหาร

ส่วนที่แข็งเคลื่อนที่ผ่านไปได้

                           2) ทวารหนัก ทำหน้าที่เป็นทางระบายอุจจาระ

 

การกำจัดของเสียทางปอด

                   ของเสียที่กำจัดทางปอดจะเป็นการหายใจเอาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย ซึ่งจะเป็นการทำงาน

ของระบบหายใจ โดยจะกล่าวในเรื่องต่อไป

 

การกำจัดของเสียทางผิวหนัง

                   ของเสียที่กำจัดออกทางผิวหนังจะอยู่ในรูปของเหลวที่เรียกว่า เหงื่อ โดยผ่านออก ทางต่อมเหงื่อ

( sweet gland) ที่มีอยู่ใต้ผิวหนังทั่วร่างกาย เหงื่อจะประกอบด้วยน้ำเป็นส่วนใหญ่  และเกลือบางชนิด ทำให้เหงื่อมีรสเค็ม

 

การปฏิบัติตนเพื่อดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย

 

 ดื่มน้ำสะอาดวันละมาก ๆ รับประทานอาหารที่สุกใหม่ ๆ

 ไม่กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ

  ควรอาบน้ำชำระร่างกายทุกวัน

  ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม

ถ้ามีอาการผิดปกติต้องรีบปรึกษาแพทย์


 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 179 คน กำลังออนไลน์