• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.135.201.209', 0, 'ed16d225c975d9becfe34f42b7662ad6', 112, 1716772992) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e070f9308247a71e6deeedd7f8ecf8a2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #000000; color: #ffcc00\"><strong>   5. ระบบการย่อยอาหารและดูดซึม   </strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n               <span style=\"color: #3366ff\">  <span style=\"color: #ff6600\">การขับน้ำย่อยของตับอ่อนจะต่ำสุดในฤดูร้อน</span> ทำให้ฤดูร้อนเบื่ออาหาร กินอาหารไม่ได้มาก ปริมาณของน้ำย่อย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ของตับอ่อน ช่วงเวลากลางคืนลดลง เมื่อเทียบกับกลางวัน การทดลองของ F.Halbens ในอาสาสมัคร 7 คน โดยให้อาหาร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ประเภทเดียวกัน ปริมาณ 2,000 แคลอรี กลุ่มแรกให้กินตอนเช้า อีกกลุ่มให้กินตอนกลางคืน ผลปรากฏว่ากลุ่มที่กินตอน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">กลางคืนมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/system1.jpg\" style=\"width: 302px; height: 271px\" align=\"middle\" height=\"490\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : <a href=\"http://www.bwc.ac.th/e-learning/keerarat/images/system1.jpg\">http://www.bwc.ac.th/e-learning/keerarat/images/system1.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #ff6600\">การย่อยอาหาร (Digestion)</span> หมายถึง <span style=\"color: #3366ff\">การแปรสภาพของสารอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่และละลายน้ำไม่ได้ ให้เป็น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">สารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้ำ และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยอาศัยกระบวนการ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #3366ff\">ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะหลาย ๆ อวัยวะ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ ตับอ่อน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ซึ่งอวัยวะบางอวัยวะไม่มีการย่อยแต่เกี่ยวข้องกับทางเดินอาหาร การย่อยอาหารเป็นกระบวนการที่ทำให้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">อาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ มีขนาดเล็กลงจนสามารถซึมเข้าสู่เซลล์ได้</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #ff6600\">การย่อยมี 2 ลักษณะคือ</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                       <span style=\"color: #e31b8f\">1. การย่อยเชิงกล</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นการย่อยอาหารโดยไม่ใช้เอ็นไซม์มาช่วย เป็นการบดเคี้ยวให้อาหารมีขนาดเล็กลง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> ได้แก่ การบดเคี้ยวอาหารในปาก </span>\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #e31b8f\">2. การย่อยทางเคมี</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นการย่อยที่ต้องใช้เอ็นไซม์ (หรือน้ำย่อย)มาช่วย ทำให้โมเลกุลของอาหารมีขนาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> เล็กลง เช่นการเปลี่ยนโมเลกุลของแป้งเป็นน้ำตาล</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #ff6600\">สารและเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยในกระเพาะอาหาร</span>\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #000080\">1. HCl มี pH อยู่ระหว่าง 0.9-2.0</span>\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #0000ff\">2. Pepsinogen เป็น Proenzyme ต้องได้รับ HCl จึงเปลี่ยนเป็นเพปซิน (Pepsin) สำหรับย่อยโปรตีน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เป็นเพปไทด์ ซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 4-12 โมเลกุล</span>\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #3366ff\">3. Prorennin เป็น Proenzyme ต้องได้รับ HCl จึงเปลี่ยนเป็นเรนนิน (Rennin) สำหรับย่อยโปรตีนในน้ำนม</span>\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #000080\">4. Lipase สร้างขึ้นในปริมาณน้อยมาก เพราะสภาพเป็นกรดของกระเพาะอาหาร</span>\n</p>\n<p>\n                      <span style=\"color: #0000ff\"> 5. Gastrin เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเซลล์ในกระเพาะอาหาร ทำหน้าที่กระตุ้นให้ Parirtal Cell หลั่ง HCl ออกมา</span>\n</p>\n<p>\n       \n</p>\n<p>\n                  <span style=\"color: #ff6600\">การย่อยอาหารจะเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกายโดยผ่าน ปาก ลิ้น ฟัน ต่อจากนั้นอาหารจะถูกลืนผ่านลำคอไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ตามอวัยวะต่างๆตามลำดับดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                      <span style=\"color: #ee1084\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #e81690\"><u>ปาก</u></span>  </span></span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในปากจะมีส่วนประกอบดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                            <span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"> </span><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #000080\">- ฟัน ทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง</span></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                            <span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #0000ff\"> - ต่อมน้ำลาย จะขับน้ำลายซึ่งมีน้ำย่อย ไทอะลิน(Ptyalin) ออกมาคลุกเคล้ากับอาหาร และช่วยใน </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #0000ff\">การย่อยอาหารจำพวกแป้งให้เป็นน้ำตาล</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                            <span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"> <span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #3366ff\">- ลิ้นจะช่วยกวาด,คลุกเคล้าอาหาร และส่งอาหารที่เคี้ยวลงสู่หลอดอาหาร</span></span></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                      <span style=\"color: #ee1084\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #e81690\"><u>หลอดอาหาร</u></span>  </span></span><span style=\"color: #3366ff\">ท่อลำเลียงอาหารอยู่ด้านหลังของหลอดลมและทะลุกระบังลมไปต่อกับปลายบนของ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">กระเพาะอาหาร ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่เคี้ยวแล้วลงสู่กระเพาะอาหาร โดยการบีบรัดของผนังกล้ามเนื้อ</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                     <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ee1084\"><span style=\"color: #e81690\"><u>กระเพาะอาหาร</u></span></span></span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นอวัยวะที่ต่อจากหลอดอาหาร ในกระเพาะจะขับน้ำย่อยเพบซิน(Pepsin) ซึ่งจะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ย่อยอาหารโปรตีนเป็นส่วนใหญ่ โดยจะใช้เวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง จากนั้นจะส่งต่อไปยังลำไส้เล็ก </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                      <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ee1084\"><span style=\"color: #e81690\"><u>ลำไส้เล็ก</u></span></span></span> <span style=\"color: #3366ff\">การย่อยและดูดซึมสารอาหารส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่นี่ ลำไส้เล็กมีรูปร่างเป็นท่อยาวประมาณ 15 ฟุต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ภายในลำไส้เล็กจะมีส่วนที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ยื่นออกมาจำนวนมากเรียกว่า วิลไล(villi) ภายในวิลไลมีเส้นเลือดฝอยและน้ำเหลืองช่วยดูดซึมอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กเข้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">สู่เซลล์ การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก เป็นการย่อยขั้นสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยเอ็นไซม์จากลำไส้เล็กเองและจาก<span style=\"color: #0000ff\">ตับอ่อน</span>ในการ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ย่อยอาหารประเภทแป้ง ไขมัน และโปรตีน นอกจากนี้ยังมีน้ำดีซึ่งสร้างโดยตับและสะสมไว้ในถุงน้ำดี อาหารที่ย่อยแล้วซึม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เข้าไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อาหารที่เหลือจากการถูกดูดซึมจะเคลื่อนที่ลงสู่ลำไส้ใหญ่ เพื่อถ่ายออกจากร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เป็นอุจจาระต่อไป</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ee1084\"><span style=\"color: #e81690\"><u>ตับอ่อน</u></span></span></span> <span style=\"color: #3366ff\">ตับอ่อนมีหน้าที่สำคัญๆ 2 ประการ</span>\n</p>\n<p>\n                 <span style=\"color: #ff6600\">1. มีหน้าที่สร้างน้ำย่อยที่เรียกว่า “น้ำย่อยของตับอ่อน”</span> <span style=\"color: #3366ff\">(Pancreatic juice) ประกอบด้วยเอ็นไซม์ (enzymes) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">หลายชนิด ซึ่งมีหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหาร จำพวกแป้ง โปรตีน ไขมัน ให้มีขนาดเล็กลง จนสามารถซึมผ่านผนังของลำไส้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เข้าสู่ร่างกายได้</span>\n</p>\n<p>\n                 <span style=\"color: #ff6600\">2. ทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland)</span> <span style=\"color: #3366ff\">สร้างฮอร์โมนหลายชนิด ซึ่งจะส่งเข้ากระแสเลือดโดยตรงฮอร์โมน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่สำคัญได้แก่ “อินซูลิน” (Insulin) </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/tub.jpg\" align=\"middle\" height=\"202\" width=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : <a href=\"http://school.obec.go.th/schoolvit/chapter/unit1/pic/tub.jpg\">http://school.obec.go.th/schoolvit/chapter/unit1/pic/tub.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #e81690\"><u>ลำไส้ใหญ่</u></span></span></span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นส่วนสุดท้ายของระบบย่อยอาหาร อยู่ติดกับลำไส้เล็ก ตรงรอยต่อจะมี ไส้ติ่ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">(Vermiform appendix) ติดอยู่ ในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้ำเข้าสู่ร่างกาย และส่งกากอาหารที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เหลือออกสู่ทวารหนักเป็นอุจจาระ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716773012, expire = 1716859412, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e070f9308247a71e6deeedd7f8ecf8a2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบการย่อยอาหารและดูดซึม

 

 

 

   5. ระบบการย่อยอาหารและดูดซึม  


                 การขับน้ำย่อยของตับอ่อนจะต่ำสุดในฤดูร้อน ทำให้ฤดูร้อนเบื่ออาหาร กินอาหารไม่ได้มาก ปริมาณของน้ำย่อย

ของตับอ่อน ช่วงเวลากลางคืนลดลง เมื่อเทียบกับกลางวัน การทดลองของ F.Halbens ในอาสาสมัคร 7 คน โดยให้อาหาร

ประเภทเดียวกัน ปริมาณ 2,000 แคลอรี กลุ่มแรกให้กินตอนเช้า อีกกลุ่มให้กินตอนกลางคืน ผลปรากฏว่ากลุ่มที่กินตอน

กลางคืนมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน

 

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : http://www.bwc.ac.th/e-learning/keerarat/images/system1.jpg

 

                  การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึง การแปรสภาพของสารอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่และละลายน้ำไม่ได้ ให้เป็น

สารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้ำ และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยอาศัยกระบวนการ

ทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี

 

                  ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะหลาย ๆ อวัยวะ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ ตับอ่อน

ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ซึ่งอวัยวะบางอวัยวะไม่มีการย่อยแต่เกี่ยวข้องกับทางเดินอาหาร การย่อยอาหารเป็นกระบวนการที่ทำให้

อาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ มีขนาดเล็กลงจนสามารถซึมเข้าสู่เซลล์ได้


         การย่อยมี 2 ลักษณะคือ


                       1. การย่อยเชิงกล เป็นการย่อยอาหารโดยไม่ใช้เอ็นไซม์มาช่วย เป็นการบดเคี้ยวให้อาหารมีขนาดเล็กลง

 ได้แก่ การบดเคี้ยวอาหารในปาก

                       2. การย่อยทางเคมี เป็นการย่อยที่ต้องใช้เอ็นไซม์ (หรือน้ำย่อย)มาช่วย ทำให้โมเลกุลของอาหารมีขนาด

 เล็กลง เช่นการเปลี่ยนโมเลกุลของแป้งเป็นน้ำตาล


         สารและเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยในกระเพาะอาหาร

                       1. HCl มี pH อยู่ระหว่าง 0.9-2.0

                       2. Pepsinogen เป็น Proenzyme ต้องได้รับ HCl จึงเปลี่ยนเป็นเพปซิน (Pepsin) สำหรับย่อยโปรตีน

เป็นเพปไทด์ ซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 4-12 โมเลกุล

                       3. Prorennin เป็น Proenzyme ต้องได้รับ HCl จึงเปลี่ยนเป็นเรนนิน (Rennin) สำหรับย่อยโปรตีนในน้ำนม

                       4. Lipase สร้างขึ้นในปริมาณน้อยมาก เพราะสภาพเป็นกรดของกระเพาะอาหาร

                       5. Gastrin เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเซลล์ในกระเพาะอาหาร ทำหน้าที่กระตุ้นให้ Parirtal Cell หลั่ง HCl ออกมา

       

                  การย่อยอาหารจะเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกายโดยผ่าน ปาก ลิ้น ฟัน ต่อจากนั้นอาหารจะถูกลืนผ่านลำคอไป

ตามอวัยวะต่างๆตามลำดับดังนี้

 

                      ปาก   เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในปากจะมีส่วนประกอบดังนี้

                             - ฟัน ทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง

                             - ต่อมน้ำลาย จะขับน้ำลายซึ่งมีน้ำย่อย ไทอะลิน(Ptyalin) ออกมาคลุกเคล้ากับอาหาร และช่วยใน

การย่อยอาหารจำพวกแป้งให้เป็นน้ำตาล

                             - ลิ้นจะช่วยกวาด,คลุกเคล้าอาหาร และส่งอาหารที่เคี้ยวลงสู่หลอดอาหาร


                      หลอดอาหาร  ท่อลำเลียงอาหารอยู่ด้านหลังของหลอดลมและทะลุกระบังลมไปต่อกับปลายบนของ

กระเพาะอาหาร ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่เคี้ยวแล้วลงสู่กระเพาะอาหาร โดยการบีบรัดของผนังกล้ามเนื้อ


                     กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะที่ต่อจากหลอดอาหาร ในกระเพาะจะขับน้ำย่อยเพบซิน(Pepsin) ซึ่งจะ

ย่อยอาหารโปรตีนเป็นส่วนใหญ่ โดยจะใช้เวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง จากนั้นจะส่งต่อไปยังลำไส้เล็ก


                      ลำไส้เล็ก การย่อยและดูดซึมสารอาหารส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่นี่ ลำไส้เล็กมีรูปร่างเป็นท่อยาวประมาณ 15 ฟุต

 มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ภายในลำไส้เล็กจะมีส่วนที่

ยื่นออกมาจำนวนมากเรียกว่า วิลไล(villi) ภายในวิลไลมีเส้นเลือดฝอยและน้ำเหลืองช่วยดูดซึมอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กเข้า

สู่เซลล์ การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก เป็นการย่อยขั้นสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยเอ็นไซม์จากลำไส้เล็กเองและจากตับอ่อนในการ

ย่อยอาหารประเภทแป้ง ไขมัน และโปรตีน นอกจากนี้ยังมีน้ำดีซึ่งสร้างโดยตับและสะสมไว้ในถุงน้ำดี อาหารที่ย่อยแล้วซึม

เข้าไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อาหารที่เหลือจากการถูกดูดซึมจะเคลื่อนที่ลงสู่ลำไส้ใหญ่ เพื่อถ่ายออกจากร่างกาย

เป็นอุจจาระต่อไป

 

                       ตับอ่อน ตับอ่อนมีหน้าที่สำคัญๆ 2 ประการ

                 1. มีหน้าที่สร้างน้ำย่อยที่เรียกว่า “น้ำย่อยของตับอ่อน” (Pancreatic juice) ประกอบด้วยเอ็นไซม์ (enzymes)

หลายชนิด ซึ่งมีหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหาร จำพวกแป้ง โปรตีน ไขมัน ให้มีขนาดเล็กลง จนสามารถซึมผ่านผนังของลำไส้

เข้าสู่ร่างกายได้

                 2. ทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland) สร้างฮอร์โมนหลายชนิด ซึ่งจะส่งเข้ากระแสเลือดโดยตรงฮอร์โมน

ที่สำคัญได้แก่ “อินซูลิน” (Insulin)

 

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : http://school.obec.go.th/schoolvit/chapter/unit1/pic/tub.jpg

 

ลำไส้ใหญ่ เป็นส่วนสุดท้ายของระบบย่อยอาหาร อยู่ติดกับลำไส้เล็ก ตรงรอยต่อจะมี ไส้ติ่ง

(Vermiform appendix) ติดอยู่ ในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้ำเข้าสู่ร่างกาย และส่งกากอาหารที่

เหลือออกสู่ทวารหนักเป็นอุจจาระ

 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 265 คน กำลังออนไลน์