• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2c989b77f74e455759654a4a2ed8c141' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #FF6600\">การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน</span></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<u></u><img height=\"24\" width=\"30\" src=\"/files/u20255/ani_k_good_sky.gif\" /><u>การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน(Control of Hormone Secretion)</u>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็นกลไกแบบตอบสนองกลับ <br />\n(feedback mechanism) ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางบวก (กระตุ้น) เรียกว่า <strong>positive feedback</strong> <br />\nหรืออาจจะเป็นไปในทางลบ (ยับยั้ง) เรียกว่า <strong>negative feedback</strong>\n</div>\n<div>\n<br />\nการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบ่งเป็น 3 แบบ\n</div>\n<div>\n<br />\n1. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน<br />\n2. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน<br />\n3. สารเคมี ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน\n<p><strong>ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน (Hormonal control of tropic hormone secretion)</strong></p>\n<p><br />\nลักษณะการหลั่ง tropic hormones มีต่อมไร้ท่อเป็นอวัยวะเป้าหมายซึ่งจะสร้างฮอร์โมนกลับไปควบคุมการหลั่งของ tropic hormones \n</p></div>\n<div>\nในเพศหญิง ฮอร์โมน FSH, LH เป็น tropic hormones การหลั่งของฮอร์โมนในกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน estrogen และ progesterone ที่สร้างมาจากรังไข่\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"481\" width=\"308\" src=\"/files/u20255/b71.jpg\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b71.JPG\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n            ในเพศชายฮอร์โมน FSH, LH (ICSH) เป็น gonadotropic hormones หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งของฮอร์โมนกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน testosterone ที่สร้างมาจาก Leydig cells ที่อยู่ในลูกอัณฑะ การทำงานของ testosterone จะเป็นแบบ feedback mechanism เพื่อควบคุมการสร้างอสุจิและสร้างฮอร์โมน FSH, LH \n<p>\nการเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน(The physiological change control of hormone secretion)\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"474\" width=\"510\" src=\"/files/u20255/b72.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b72.JPG\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nการเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกาย (ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงหรือต่ำ) จะเป็นตัวกระตุ้นหรือยับยั้งต่อมไร้ท่อให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนออกมา ตัวอย่างเช่น กลุ่มเซลล์ในตับอ่อนเรียกว่า <strong>beta–cells of islet of Langerhans</strong> ซึ่งทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ ที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน <strong>insulin</strong> ออกมา \n<p>\nสารเคมีควบคุมการหลั่งฮอร์โมน (Chemical substance control of hormone secretion)\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"443\" width=\"587\" src=\"/files/u20255/b73.jpg\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b73.JPG\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\nการเปลี่ยนแปลงการทำงานของสรีรของร่างกาย (ความดันเลือดต่ำ) ทำให้เกิดสภาวะที่ไปกระตุ้นเนื้อเยื่อที่ไม่ใช่ต่อมไร้ท่อ (Juxtaglomerular cells) ให้สร้างและปล่อยสารเคมี (renin) ออกมาสู่กระแสเลือด และ renin ถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไปชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone ออกมาสู่กระแสเลือด ทำให้เกิดการดูดซึมกลับของ Na+ และน้ำจากหลอดไตตรงบริเวณ distal convoluted tubule เข้าสู่เส้นเลือดฝอยตรงบริเวณนั้น ทำให้ความดันเลือดสูงซึ่งจะไปยับยั้งการปล่อย renin ออกมา\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"465\" width=\"460\" src=\"/files/u20255/b74.jpg\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b74.JPG\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"39\" width=\"407\" src=\"/files/u20255/f15.gif\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/43035\">\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"/files/u20255/home.jpg\" width=\"150\" height=\"35\" />\n</div>\n<p></p></a> \n</div>\n', created = 1714775737, expire = 1714862137, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2c989b77f74e455759654a4a2ed8c141' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน

การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน(Control of Hormone Secretion)

การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็นกลไกแบบตอบสนองกลับ
(feedback mechanism) ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางบวก (กระตุ้น) เรียกว่า positive feedback
หรืออาจจะเป็นไปในทางลบ (ยับยั้ง) เรียกว่า negative feedback

การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบ่งเป็น 3 แบบ

1. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน
2. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
3. สารเคมี ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน

ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน (Hormonal control of tropic hormone secretion)


ลักษณะการหลั่ง tropic hormones มีต่อมไร้ท่อเป็นอวัยวะเป้าหมายซึ่งจะสร้างฮอร์โมนกลับไปควบคุมการหลั่งของ tropic hormones

ในเพศหญิง ฮอร์โมน FSH, LH เป็น tropic hormones การหลั่งของฮอร์โมนในกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน estrogen และ progesterone ที่สร้างมาจากรังไข่
 
ที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b71.JPG

            ในเพศชายฮอร์โมน FSH, LH (ICSH) เป็น gonadotropic hormones หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งของฮอร์โมนกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน testosterone ที่สร้างมาจาก Leydig cells ที่อยู่ในลูกอัณฑะ การทำงานของ testosterone จะเป็นแบบ feedback mechanism เพื่อควบคุมการสร้างอสุจิและสร้างฮอร์โมน FSH, LH

การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน(The physiological change control of hormone secretion)

 
ที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b72.JPG
 
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรของร่างกาย (ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงหรือต่ำ) จะเป็นตัวกระตุ้นหรือยับยั้งต่อมไร้ท่อให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนออกมา ตัวอย่างเช่น กลุ่มเซลล์ในตับอ่อนเรียกว่า beta–cells of islet of Langerhans ซึ่งทำหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ ที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน insulin ออกมา

สารเคมีควบคุมการหลั่งฮอร์โมน (Chemical substance control of hormone secretion)

 
ที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b73.JPG
 
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของสรีรของร่างกาย (ความดันเลือดต่ำ) ทำให้เกิดสภาวะที่ไปกระตุ้นเนื้อเยื่อที่ไม่ใช่ต่อมไร้ท่อ (Juxtaglomerular cells) ให้สร้างและปล่อยสารเคมี (renin) ออกมาสู่กระแสเลือด และ renin ถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไปชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone ออกมาสู่กระแสเลือด ทำให้เกิดการดูดซึมกลับของ Na+ และน้ำจากหลอดไตตรงบริเวณ distal convoluted tubule เข้าสู่เส้นเลือดฝอยตรงบริเวณนั้น ทำให้ความดันเลือดสูงซึ่งจะไปยับยั้งการปล่อย renin ออกมา
 

ที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b74.JPG
 
 
 

 
สร้างโดย: 
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.จุฑารัตน์ จริงธนสาร ผู้จัดทำ : นส.วิศัลยา ชินกาญจนโรจน์์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 450 คน กำลังออนไลน์