• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0cc73c3b4907254c6f490031413e5c0a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">การปกครอง</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 108px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><b>ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง</b><br />\nรัชกาลที่ 7 ได้โปรดให้รวมกระทรวงธรรมการไว้ในกระทรวงศึกษาธิการแล้วเปลี่ยนชื่อเป็น กระทรวงธรรมการ ยกเลิกกระทรวงมุรธาธรโดยโอนงานไปอยู่รวมกับ กรมราชเลขาธิการ รวมกระทรวงพาณิชย์และกระทรวงคมนาคมจัดเป็นกระทรวงเดียวกันเรียกชื่อว่า กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม รวมกระทรวงทหารเรือเข้ากับกระทรวงกลาโหม มีการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการ ได้แก่<br />\nอภิรัฐมนตรีสภา เพื่อเป็นที่ปรึกษาราชการทั้งปวงในพระองค์ สมาชิกของสภานี้ล้วนเป็นพระบรมวงศา นุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ สภานี้กำหนดให้มีการประชุมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ในวันศุกร์ โดยมี รัชกาลที่ 7 เป็นประธาน มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2468 ณ พระที่นั่งบรมพิมาน<br />\nสมาชิกอภิรัฐมนตรีสภาประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ จำนวน 5 ท่าน ได้แก่<br />\nสมเด็จพระปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช<br />\nสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตประชานาท<br />\nสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์<br />\nสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ<br />\nพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาท<br />\nองคมนตรีสภา จัดตั้งเมื่อ 2 กันยายน 2470 มีคณะกรรมการจำนวน 40 คนเรียกว่า สภากรรมการองคมนตรี เปิดประชุมสภาครั้งแรกเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2470 โดยมี กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์เป็นประธานสภา องคมนตรีสภานี้กล่าวกันว่าจะโปรดให้ทำหน้าที่เป็น รัฐสภา เพื่อสถาปนาระบอบประชาธิปไตยในเวลาต่อมา<br />\nเสนาบดีสภา สภานี้เดิมเคยมีอยู่แล้ว ประกอบด้วยสมาชิกผู้เป็นเสนาบดีบังคับบัญชาราชการกระทรวงต่าง ๆ มีหน้าที่สำหรับทรงปรึกษาหารือราชการ อันกำหนดไว้ให้ เป็นหน้าที่ในกระทรวงนั้น ๆ ในการประชุม รัชกาลที่ 7 ทรงเป็นประธาน นอกจากทั้ง 3 สภานี้แล้วยังมี <br />\nสภาป้องกันพระราชอาณาจักร สำหรับทำหน้าที่ พิจารณาและทำความตกลง ในนโยบายวิธีป้องกันพระราชอาณาจักรและประสานงาน ในราชการของกระทรวงฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน <br />\nสภาการคลัง มีหน้าที่ตรวจตราวินิจฉัยเงินงบประมาณของแผ่นดินและรักษาผลประโยชน์ทางการเงินของประเทศ และวินิจฉัยการคลังเสนอต่อพระมหากษัตริย์สภาทั้งหมดนี้ได้ถูกยกเลิกไป หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย <br />\n<b></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><b>ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค</b><br />\nรัชกาลที่ 7 โปรดให้ยกเลิกภาคที่จัดตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการรวมมณฑลหลายมณฑลเข้าเป็นมณฑลเดียวกัน เช่น รวมมณฑลมหาราษฎร์กับมณฑลพายัพเป็น มณฑลพายัพ รวมมณฑลอุบลราชธานีกับมณฑลร้อยเอ็ด ไปอยู่ใน มณฑลนครราชสีมา ยุบมณฑลปัตตานีรวมกับ มณฑลนครศรีธรรมราช ยุบมณฑลนครชัยศรีรวมกับมณฑลราชบุรี ยุบมณฑลนครสวรรค์รวมกับมณฑลอยุธยา นอกจากนี้ยังโปรดให้ยุบจังหวัดต่าง ๆ เช่น ยุบจังหวัดสุโขทัยไปรวมกับจังหวัดสวรรคโลก ยุบจังหวัดกาฬสินธุ์ไปรวมกับจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดต่าง ๆ ที่ถูกยุบไปมีดังนี้ สุโขทัย หล่มสัก ธัญญบุรี กาฬสินธุ์ หลังสวน ตะกั่วป่า สายบุรี พระประแดงและมีนบุรี จำนวนมณฑลเดิมมี 14 มณฑล ลดเหลือ 10 มณฑล และจังหวัดเดิม มี 79 จังหวัดลดเหลือ 70 จังหวัด การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 มูลเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอประชาธิปไตย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">1. ความไม่พร้อมในการเป็นพระมหากษัตริย์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพราะพระองค์ไม่ได้เตรียมตัวมาเพื่อเป็นพระมหากษัตริย์ จึงไม่กล้าตัดสินใจ ทั้งที่มีอำนาจสิทธิ์ขาด โดยสมบูรณ์แบบในการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช แต่อำนาจต่าง ๆ ตกอยู่กับคณะอภิรัฐมนตรีสภา อาทิ การยับยั้งการพระราชทานรัฐธรรมนูญ ให้แก่ประชาชน แล้วเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตย เนื่องในโอกาสกรุงเทพมหานคร มีอายุครบ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">2. ราษฎรมีการศึกษาเพิ่มมากขึ้น ได้รับข่าวสาร ความรู้ แนวคิดจากชาติตะวันตก ที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ในรูปแบบประชาธิปไตย โดยเฉพาะผู้ที่ไปศึกษามาจากทวีปยุโรป อาทิ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) สำเร็จการศึกษาวิชาการทหารจากประเทศเยอรมัน หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตะสังคะ) สำเร็จการศึกษาวิชาการทหารปืนใหญ่จากประเทศฝรั่งเศส หลวงสินธุ์สงคราม (ร.ท. สินธุ์ กมลนาวิน) สำเร็จการศึกษาวิชาการทหารเรือจากประเทศเดนมาร์ก หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ( ปรีดี พนมยงค์ ) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางกฎหมายจากประเทศฝรั่งเศส หลวงโกวิท อภัยวงศ์ ( ควง อภัยวงศ์ ) สำเร็จการศึกษาวิชาวิศวกรรมจากประเทศฝรั่งเศส นายประยูร ภมรมนตรี สำเร็จการศึกษาวิชาการเมืองจากประเทศฝรั่งเศส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">3. ปัญหาเรื่องเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อการบริหารประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สาเหตุภายในประเทศสืบเนื่องมาจากมีการใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย ในตอนปลายสมัยรัชกาลที่ 6 รัฐบาลหารายได้ไม่พอกับการใช้จ่ายทำให้ขาดดุลงบประมาณ ถึงแม้ว่าพระองค์จะตัดทอนรายจ่ายของรัฐที่เป็นเงินเดือนของพระองค์ ลดจำนวนมหาดเล็ก ยุบมณฑล ยุบจังหวัด เพื่อลดจำนวนข้าราชการลง ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้ การแก้ปัญหาต่าง ๆ แบบนี้ทำให้ฐานะการเงินดีขึ้นบ้าง แต่ก็มีผู้ไม่พอใจโดยเฉพาะข้าราชการที่ถูกปลด หรือแม้แต่ข้าราชการที่ไม่ถูกปลด แต่ก็มีการเก็บภาษีเงินเดือนข้าราชการ จากมูลเหตุดังกล่าวทีนำไปสู่เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย โดย คณะราษฎร์ ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแปรพระราชฐาน ณ พระราชวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “<strong>คณะราษฎร์</strong>” ทำการปฏิวัติประกาศยึดอำนาจ โดยนำกำลังทหารและพลเรือน เข้ายึดสถานที่สำคัญของทางราชการและควบคุม บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ เจ้านายชั้นสูงและข้าราชการฝ่ายรัฐบาล ไปไว้ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อเป็นตัวประกันดังนี้<br />\nสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตประชานาท ผู้รักษาพระนครในขณะนั้น<br />\nสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์<br />\nสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ<br />\nนายพลตำรวจตรีหม่อมเจ้าวงศ์นิรชร<br />\nนายพลโทพระยาสีหราชเดโชชัย เสนาธิการทหารบก<br />\nนายพลตรีพระยาเฉลิมอากาศ เจ้ากรมอากาศยาน </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/433970o8lcd5hrbz.gif\" height=\"100\" width=\"100\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45523\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45086\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/433970o8lcd5hrbz.gif\" height=\"100\" width=\"100\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719821545, expire = 1719907945, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0cc73c3b4907254c6f490031413e5c0a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปกครอง ร.7

การปกครอง

ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
รัชกาลที่ 7 ได้โปรดให้รวมกระทรวงธรรมการไว้ในกระทรวงศึกษาธิการแล้วเปลี่ยนชื่อเป็น กระทรวงธรรมการ ยกเลิกกระทรวงมุรธาธรโดยโอนงานไปอยู่รวมกับ กรมราชเลขาธิการ รวมกระทรวงพาณิชย์และกระทรวงคมนาคมจัดเป็นกระทรวงเดียวกันเรียกชื่อว่า กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม รวมกระทรวงทหารเรือเข้ากับกระทรวงกลาโหม มีการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการ ได้แก่
อภิรัฐมนตรีสภา เพื่อเป็นที่ปรึกษาราชการทั้งปวงในพระองค์ สมาชิกของสภานี้ล้วนเป็นพระบรมวงศา นุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ สภานี้กำหนดให้มีการประชุมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ในวันศุกร์ โดยมี รัชกาลที่ 7 เป็นประธาน มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2468 ณ พระที่นั่งบรมพิมาน
สมาชิกอภิรัฐมนตรีสภาประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ จำนวน 5 ท่าน ได้แก่
สมเด็จพระปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตประชานาท
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาท
องคมนตรีสภา จัดตั้งเมื่อ 2 กันยายน 2470 มีคณะกรรมการจำนวน 40 คนเรียกว่า สภากรรมการองคมนตรี เปิดประชุมสภาครั้งแรกเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2470 โดยมี กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์เป็นประธานสภา องคมนตรีสภานี้กล่าวกันว่าจะโปรดให้ทำหน้าที่เป็น รัฐสภา เพื่อสถาปนาระบอบประชาธิปไตยในเวลาต่อมา
เสนาบดีสภา สภานี้เดิมเคยมีอยู่แล้ว ประกอบด้วยสมาชิกผู้เป็นเสนาบดีบังคับบัญชาราชการกระทรวงต่าง ๆ มีหน้าที่สำหรับทรงปรึกษาหารือราชการ อันกำหนดไว้ให้ เป็นหน้าที่ในกระทรวงนั้น ๆ ในการประชุม รัชกาลที่ 7 ทรงเป็นประธาน นอกจากทั้ง 3 สภานี้แล้วยังมี
สภาป้องกันพระราชอาณาจักร สำหรับทำหน้าที่ พิจารณาและทำความตกลง ในนโยบายวิธีป้องกันพระราชอาณาจักรและประสานงาน ในราชการของกระทรวงฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน
สภาการคลัง มีหน้าที่ตรวจตราวินิจฉัยเงินงบประมาณของแผ่นดินและรักษาผลประโยชน์ทางการเงินของประเทศ และวินิจฉัยการคลังเสนอต่อพระมหากษัตริย์สภาทั้งหมดนี้ได้ถูกยกเลิกไป หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย

ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
รัชกาลที่ 7 โปรดให้ยกเลิกภาคที่จัดตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการรวมมณฑลหลายมณฑลเข้าเป็นมณฑลเดียวกัน เช่น รวมมณฑลมหาราษฎร์กับมณฑลพายัพเป็น มณฑลพายัพ รวมมณฑลอุบลราชธานีกับมณฑลร้อยเอ็ด ไปอยู่ใน มณฑลนครราชสีมา ยุบมณฑลปัตตานีรวมกับ มณฑลนครศรีธรรมราช ยุบมณฑลนครชัยศรีรวมกับมณฑลราชบุรี ยุบมณฑลนครสวรรค์รวมกับมณฑลอยุธยา นอกจากนี้ยังโปรดให้ยุบจังหวัดต่าง ๆ เช่น ยุบจังหวัดสุโขทัยไปรวมกับจังหวัดสวรรคโลก ยุบจังหวัดกาฬสินธุ์ไปรวมกับจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดต่าง ๆ ที่ถูกยุบไปมีดังนี้ สุโขทัย หล่มสัก ธัญญบุรี กาฬสินธุ์ หลังสวน ตะกั่วป่า สายบุรี พระประแดงและมีนบุรี จำนวนมณฑลเดิมมี 14 มณฑล ลดเหลือ 10 มณฑล และจังหวัดเดิม มี 79 จังหวัดลดเหลือ 70 จังหวัด การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 มูลเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอประชาธิปไตย

1. ความไม่พร้อมในการเป็นพระมหากษัตริย์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพราะพระองค์ไม่ได้เตรียมตัวมาเพื่อเป็นพระมหากษัตริย์ จึงไม่กล้าตัดสินใจ ทั้งที่มีอำนาจสิทธิ์ขาด โดยสมบูรณ์แบบในการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช แต่อำนาจต่าง ๆ ตกอยู่กับคณะอภิรัฐมนตรีสภา อาทิ การยับยั้งการพระราชทานรัฐธรรมนูญ ให้แก่ประชาชน แล้วเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตย เนื่องในโอกาสกรุงเทพมหานคร มีอายุครบ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475

2. ราษฎรมีการศึกษาเพิ่มมากขึ้น ได้รับข่าวสาร ความรู้ แนวคิดจากชาติตะวันตก ที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ในรูปแบบประชาธิปไตย โดยเฉพาะผู้ที่ไปศึกษามาจากทวีปยุโรป อาทิ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) สำเร็จการศึกษาวิชาการทหารจากประเทศเยอรมัน หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตะสังคะ) สำเร็จการศึกษาวิชาการทหารปืนใหญ่จากประเทศฝรั่งเศส หลวงสินธุ์สงคราม (ร.ท. สินธุ์ กมลนาวิน) สำเร็จการศึกษาวิชาการทหารเรือจากประเทศเดนมาร์ก หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ( ปรีดี พนมยงค์ ) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางกฎหมายจากประเทศฝรั่งเศส หลวงโกวิท อภัยวงศ์ ( ควง อภัยวงศ์ ) สำเร็จการศึกษาวิชาวิศวกรรมจากประเทศฝรั่งเศส นายประยูร ภมรมนตรี สำเร็จการศึกษาวิชาการเมืองจากประเทศฝรั่งเศส

3. ปัญหาเรื่องเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อการบริหารประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สาเหตุภายในประเทศสืบเนื่องมาจากมีการใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย ในตอนปลายสมัยรัชกาลที่ 6 รัฐบาลหารายได้ไม่พอกับการใช้จ่ายทำให้ขาดดุลงบประมาณ ถึงแม้ว่าพระองค์จะตัดทอนรายจ่ายของรัฐที่เป็นเงินเดือนของพระองค์ ลดจำนวนมหาดเล็ก ยุบมณฑล ยุบจังหวัด เพื่อลดจำนวนข้าราชการลง ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้ การแก้ปัญหาต่าง ๆ แบบนี้ทำให้ฐานะการเงินดีขึ้นบ้าง แต่ก็มีผู้ไม่พอใจโดยเฉพาะข้าราชการที่ถูกปลด หรือแม้แต่ข้าราชการที่ไม่ถูกปลด แต่ก็มีการเก็บภาษีเงินเดือนข้าราชการ จากมูลเหตุดังกล่าวทีนำไปสู่เหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย โดย คณะราษฎร์ ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแปรพระราชฐาน ณ พระราชวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “คณะราษฎร์” ทำการปฏิวัติประกาศยึดอำนาจ โดยนำกำลังทหารและพลเรือน เข้ายึดสถานที่สำคัญของทางราชการและควบคุม บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ เจ้านายชั้นสูงและข้าราชการฝ่ายรัฐบาล ไปไว้ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อเป็นตัวประกันดังนี้
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตประชานาท ผู้รักษาพระนครในขณะนั้น
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลตำรวจตรีหม่อมเจ้าวงศ์นิรชร
นายพลโทพระยาสีหราชเดโชชัย เสนาธิการทหารบก
นายพลตรีพระยาเฉลิมอากาศ เจ้ากรมอากาศยาน

กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ

 

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์