• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6b4d55cb8bc07285298e09d65fd336b7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">เศรษฐกิจ</span></b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 69px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #b038c7\"><span style=\"color: #9400d3\"><span style=\"color: #0000ff\">การเก็บเงินรัชชูปการ เงินรัชชูปการคือ เงินส่วย ที่เก็บจากไพร่ส่วย โดยปรกติยามสงบชายไทยทุกคน ที่สังกัดมูลนาย หรือ ที่เรียกว่า ไพร่หลวง ทำหน้าที่รับราชการ ช่วยกันทำนุบำรุงและป้องกันประเทศชาติ ในยามปรกติ ต้องมีหน้าที่เข้ารับราชการปีละ 6 เดือน ในสมัยกรุงธนบุรี ลดเหลือปีละ 4 เดือน และ ในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น ลดเหลือ 3 เดือน ผู้ใดไม่ต้องการเข้าเกณฑ์แรงงาน ก็หาสิ่งของหรือเงินมาทดแทนการเกณฑ์แรงงานได้ ซึ่งผู้ที่ใช้เงินหรือสิ่งของมาแทนแรงงาน เรียกว่า ไพร่ส่วย ส่วนเงิน ที่ใช้แทนแรงงานเรียกว่า ส่วย ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า เงินค่าราชการ ในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียกว่าเงินรัชชูปการ ในสมัย รัชกาลที่ 1 นั้น ไพร่ส่วยเสียเงินค่าราชการ ปีละ 18 บาท เท่ากับคิดในอัตราเดือนละ 6 บาท ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร ทางราชการยินยอมให้ผู้ไม่ถูกเกณฑ์ทหารเสียเงินค่าราชการเพียงปีละ 6 บาท เท่ากับว่าไพร่ต้องเข้าเวรปีละ 1 เดือน ในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียกว่าเงินรัชชูปการ โดยกำหนดให้ ชายฉกรรจ์ ที่มีอายุ 18 – 60 ปีและข้าราชการ ต้องเสียเงินรัชชูปการ ยกเว้น ทหาร ตำรวจ พระภิกษุสามเณร กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและผู้ที่มีร่างกายทุพพลภาพไม่ต้องเสียเงินรัชชูปการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2468 ได้ประกาศใช้ประมาลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ก็ให้เก็บจากบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วคือเก็บจากชายที่มีอายุ 20 – 60 ปี</span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #b038c7\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #9400d3\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong>ด้านสาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่งและการสื่อสาร<br />\n</strong>จัดตั้งกรมรถไฟหลวง โดยรวม กรมรถไฟสายเหนือและกรมรถไฟสายใต้ เข้าด้วยกัน เมื่อ 5 มิถุนายน 2460 แล้วโปรดฯให้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินเป็นผู้บังคับบัญชาขยายทางรถไฟ อาทิ ทางสายเหนือถึงเชียงใหม่ โดยมีการขุดอุโมงค์ลอดเขาขุนตาล ซึ่งเป็นอุโมงค์รถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย  สร้างสะพานพระราม 6 เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายเหนือและสายใต้สายตะวันออกขยายถึงอรัญประเทศ สายใต้ถึงปาดังเบซาร์เริ่มวางรากฐานการคมนาคมทางอากาศ โดยทดลองบิน ณ สนามราชกรีฑาสโมสร ต่อมาได้กำเนิดกรมอากาศยานขึ้น และสร้างสนามบินดอนเมือง กำเนิดการวิทยุโทรเลข ได้โปรดให้กระทรวงทหารเรือ เริ่มจัดตั้งสถานีวิทยุโทรเลขขึ้นสองสถานีคือที่ตำบลศาลาแดงจังหวัดกรุงเทพฯ และ จังหวัดสงขลาต่อมากิจการนี้ได้มารวมกับกรมไปรษณีย์โทรเลข จัดตั้งกรมทดน้ำ  ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กรมชลประทาน มีการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่กั้นลำน้ำป่าสัก บริเวณตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระราชทานนามว่า เขื่อนพระราม 6</span></span> </span></span><span style=\"color: #b038c7\"><span style=\"color: #9400d3\"><span style=\"color: #9400d3\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">รัชกาลที่ 6 พร้อมด้วยบรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร่วมกันบริจาคพระราชทรัพย์ สมทบกับเงินทุนที่เหลือจากคราวจัดตั้งสภาอุณาโลมแดงก่อตั้งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ เพื่อถวายเป็นพระราชอนุสรณ์ แห่งองค์สมเด็จพระบรมราชชนกนาถ การตั้งปาสตุรสภา สาเหตุเพราะพระธิดาของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ต้องสิ้นพระชนม์ด้วยโรคพิษสุนัขบ้า จึงประกาศเรี่ยไรบอกบุญและพระราชทานทรัพย์ช่วยสร้างสถานปาสเตอร์ขึ้น ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ปาสตุรสภา เพื่อให้เกียรติแก่ หลุยส์ ปาสเตอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้คนพบวัคซินชนิดนี้ ตั้งสถานเสาวภา เพื่อเป็นเกียรติแด่ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในปี พ.ศ. 2466 ได้เปิดสวนงู ขึ้นในสถานเสาวภาเพื่อใช้เป็นแหล่งผลิตเซรุ่มฉีดแก้พิษงู ตั้งกรมสาธารณสุข โดยโอนงานการสุขาภิบาลทั้งหมด มาสังกัดอยู่ในกระทรวงมหาดไทย ตั้งกองอนุกาชาด โดยสภากาชาดไทยได้จัดให้มี การอนุกาชาด ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2465 เพื่อฝึกให้เด็กได้ใฝ่ใจในการอนามัยและปลูกฝังให้มีจิตใจเมตตากรุณา รู้จักบำเพ็ญประโยชน์ ตั้งสถานีประชานามัยพิทักษ์ ขึ้นเพื่อช่วยดูแลรักษาอนามัยให้แก่ประชาชนและแนะนำวิธีพยาบาลคนไข้ตามเคหสถานบ้านเรือน พร้อมกันนี้ก็โปรดให้ตั้ง โรงเรียนนางสุขาภิบาล ขึ้น เพื่ออบรมนักเรียนที่สำเร็จวิชาพยาบาลมาแล้ว เข้าบรรจุประจำตามสถานีประชานามัยพิทักษ์ ต่อมาสถานีประชานามัยพิทักษ์ เปลี่ยนชื่อเป็น สถานีอนามัย กำเนิดสหกรณ์ โดยมีการจัดตั้งสหกรณ์แห่งแรก คือสหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้ มีสำนักงานอยู่ที่ตำบลวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดยมีพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ (พระบิดาแห่งการสหกรณ์) เป็นนายทะเบียนพระองค์แรก ตั้งคลังออมสิน เนื่องจากประชาชนได้รับความเดือดร้อน มีผู้ร้องเรียนว่าการรักษาทรัพย์สมบัตินั้น ยากลำบาก ไม่ทราบว่าจะนำทรัพย์ที่หามาได้ไปฝากไว้ที่ใดจึงจะปลอดภัย เพราะมีการปล้นสดมหรือฉ้อโกง จึงโปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัติคลังออมสิน คลังออมสินนี้ได้วิวัฒนาการมาเป็น ธนาคารออมสิน ในปัจจุบัน</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45515\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45516\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />\n</p></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727913847, expire = 1728000247, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6b4d55cb8bc07285298e09d65fd336b7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจ ร.6

เศรษฐกิจ

การเก็บเงินรัชชูปการ เงินรัชชูปการคือ เงินส่วย ที่เก็บจากไพร่ส่วย โดยปรกติยามสงบชายไทยทุกคน ที่สังกัดมูลนาย หรือ ที่เรียกว่า ไพร่หลวง ทำหน้าที่รับราชการ ช่วยกันทำนุบำรุงและป้องกันประเทศชาติ ในยามปรกติ ต้องมีหน้าที่เข้ารับราชการปีละ 6 เดือน ในสมัยกรุงธนบุรี ลดเหลือปีละ 4 เดือน และ ในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น ลดเหลือ 3 เดือน ผู้ใดไม่ต้องการเข้าเกณฑ์แรงงาน ก็หาสิ่งของหรือเงินมาทดแทนการเกณฑ์แรงงานได้ ซึ่งผู้ที่ใช้เงินหรือสิ่งของมาแทนแรงงาน เรียกว่า ไพร่ส่วย ส่วนเงิน ที่ใช้แทนแรงงานเรียกว่า ส่วย ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่า เงินค่าราชการ ในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียกว่าเงินรัชชูปการ ในสมัย รัชกาลที่ 1 นั้น ไพร่ส่วยเสียเงินค่าราชการ ปีละ 18 บาท เท่ากับคิดในอัตราเดือนละ 6 บาท ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร ทางราชการยินยอมให้ผู้ไม่ถูกเกณฑ์ทหารเสียเงินค่าราชการเพียงปีละ 6 บาท เท่ากับว่าไพร่ต้องเข้าเวรปีละ 1 เดือน ในสมัยรัชกาลที่ 6 เรียกว่าเงินรัชชูปการ โดยกำหนดให้ ชายฉกรรจ์ ที่มีอายุ 18 – 60 ปีและข้าราชการ ต้องเสียเงินรัชชูปการ ยกเว้น ทหาร ตำรวจ พระภิกษุสามเณร กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและผู้ที่มีร่างกายทุพพลภาพไม่ต้องเสียเงินรัชชูปการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2468 ได้ประกาศใช้ประมาลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ก็ให้เก็บจากบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วคือเก็บจากชายที่มีอายุ 20 – 60 ปี

ด้านสาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่งและการสื่อสาร
จัดตั้งกรมรถไฟหลวง โดยรวม กรมรถไฟสายเหนือและกรมรถไฟสายใต้ เข้าด้วยกัน เมื่อ 5 มิถุนายน 2460 แล้วโปรดฯให้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินเป็นผู้บังคับบัญชาขยายทางรถไฟ อาทิ ทางสายเหนือถึงเชียงใหม่ โดยมีการขุดอุโมงค์ลอดเขาขุนตาล ซึ่งเป็นอุโมงค์รถไฟที่ยาวที่สุดในประเทศไทย  สร้างสะพานพระราม 6 เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายเหนือและสายใต้สายตะวันออกขยายถึงอรัญประเทศ สายใต้ถึงปาดังเบซาร์เริ่มวางรากฐานการคมนาคมทางอากาศ โดยทดลองบิน ณ สนามราชกรีฑาสโมสร ต่อมาได้กำเนิดกรมอากาศยานขึ้น และสร้างสนามบินดอนเมือง กำเนิดการวิทยุโทรเลข ได้โปรดให้กระทรวงทหารเรือ เริ่มจัดตั้งสถานีวิทยุโทรเลขขึ้นสองสถานีคือที่ตำบลศาลาแดงจังหวัดกรุงเทพฯ และ จังหวัดสงขลาต่อมากิจการนี้ได้มารวมกับกรมไปรษณีย์โทรเลข จัดตั้งกรมทดน้ำ  ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กรมชลประทาน มีการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่กั้นลำน้ำป่าสัก บริเวณตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระราชทานนามว่า เขื่อนพระราม 6
 
รัชกาลที่ 6 พร้อมด้วยบรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร่วมกันบริจาคพระราชทรัพย์ สมทบกับเงินทุนที่เหลือจากคราวจัดตั้งสภาอุณาโลมแดงก่อตั้งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ เพื่อถวายเป็นพระราชอนุสรณ์ แห่งองค์สมเด็จพระบรมราชชนกนาถ การตั้งปาสตุรสภา สาเหตุเพราะพระธิดาของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ต้องสิ้นพระชนม์ด้วยโรคพิษสุนัขบ้า จึงประกาศเรี่ยไรบอกบุญและพระราชทานทรัพย์ช่วยสร้างสถานปาสเตอร์ขึ้น ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ปาสตุรสภา เพื่อให้เกียรติแก่ หลุยส์ ปาสเตอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้คนพบวัคซินชนิดนี้ ตั้งสถานเสาวภา เพื่อเป็นเกียรติแด่ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในปี พ.ศ. 2466 ได้เปิดสวนงู ขึ้นในสถานเสาวภาเพื่อใช้เป็นแหล่งผลิตเซรุ่มฉีดแก้พิษงู ตั้งกรมสาธารณสุข โดยโอนงานการสุขาภิบาลทั้งหมด มาสังกัดอยู่ในกระทรวงมหาดไทย ตั้งกองอนุกาชาด โดยสภากาชาดไทยได้จัดให้มี การอนุกาชาด ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2465 เพื่อฝึกให้เด็กได้ใฝ่ใจในการอนามัยและปลูกฝังให้มีจิตใจเมตตากรุณา รู้จักบำเพ็ญประโยชน์ ตั้งสถานีประชานามัยพิทักษ์ ขึ้นเพื่อช่วยดูแลรักษาอนามัยให้แก่ประชาชนและแนะนำวิธีพยาบาลคนไข้ตามเคหสถานบ้านเรือน พร้อมกันนี้ก็โปรดให้ตั้ง โรงเรียนนางสุขาภิบาล ขึ้น เพื่ออบรมนักเรียนที่สำเร็จวิชาพยาบาลมาแล้ว เข้าบรรจุประจำตามสถานีประชานามัยพิทักษ์ ต่อมาสถานีประชานามัยพิทักษ์ เปลี่ยนชื่อเป็น สถานีอนามัย กำเนิดสหกรณ์ โดยมีการจัดตั้งสหกรณ์แห่งแรก คือสหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้ มีสำนักงานอยู่ที่ตำบลวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดยมีพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ (พระบิดาแห่งการสหกรณ์) เป็นนายทะเบียนพระองค์แรก ตั้งคลังออมสิน เนื่องจากประชาชนได้รับความเดือดร้อน มีผู้ร้องเรียนว่าการรักษาทรัพย์สมบัตินั้น ยากลำบาก ไม่ทราบว่าจะนำทรัพย์ที่หามาได้ไปฝากไว้ที่ใดจึงจะปลอดภัย เพราะมีการปล้นสดมหรือฉ้อโกง จึงโปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัติคลังออมสิน คลังออมสินนี้ได้วิวัฒนาการมาเป็น ธนาคารออมสิน ในปัจจุบัน

 

กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ

 

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 414 คน กำลังออนไลน์