• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7036c17dede07f8dc54c14f52698f539' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">เศรษฐกิจ</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 69px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">1. การปรับปรุงระบบการคลัง แยกการคลังออกจากกรมท่า ให้กรมท่ามีหน้าที่ทางด้านการต่างประเทศเพียงอย่างเดียว ทรงตั้ง หอรัษฎากรพิพัฒน์ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2416 ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์เพื่อเป็น สำนักงานกลางเก็บผลประโยชน์ รายได้ภาษีอากรของแผ่นดินมารวมไว้ที่แห่งเดียว ต่อมาได้ยกฐานะหอรัษฎากรพิพัฒน์ ขึ้นเป็น กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เมื่อ พ.ศ. 2435                                </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">2. ตรากฎหมายกวดขันภาษีอากร โปรด ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสำหรับ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ขึ้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2416 โดยวางหลักเกณฑ์การเรียกเก็บภาษีอากรให้ทันสมัยตามแบบสากล                                                                                             </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">3. การปรับปรุงระบบภาษีอากรแบบใหม่ พ.ศ. 2435 ทรงตั้งข้าหลวงคลังไปประจำทุกมณฑล เพื่อทำหน้าที่เก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยตรง แล้วรวบรวมส่งไปยังกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ                                                                                           </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">4. ยกเลิกระบบเจ้าภาษีนายอากร เปลี่ยนให้เทศาภิบาลเก็บภาษีเองเหมือนกันหมดทุกมณฑล                                                </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">5. จัดทำงบประมาณแผ่นดิน ขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2439 โดยแยกพระราชทรัพย์ของพระองค์ออกจากรายได้ของแผ่นดิน ตั้ง พระคลังข้างที่ ขึ้นสำหรับจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำหรับรายได้ภาษีอากรของแผ่นดิน ให้พระคลังมหาสมบัติเป็นผู้ควบคุมดูแล        </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">6. จัดระบบเงินตราใหม่ โดยยกเลิกระบบเงินพดด้วง หน่วยเงิน เฟื้อง ซีก เสี้ยว อัฐ โสลฬ ตำลึง ชั่ง โดยสร้างหน่วยเงินขึ้นใหม่ ให้ใช้ เหรียญบาท เหรียญสลึง เหรียญสตางค์ กำหนดให้ 100 สตางค์ เท่ากับ 1 บาท พร้อมทั้งผลิตเหรียญสตางค์ทำด้วยทองคำขาวมี 4 ราคา ได้แก่ 20 สตางค์ 10 สตางค์ 5 สตางค์และ 2 สตางค์ครึ่ง                                                                                   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">7. ตราพระราชบัญญัติธนบัตร ร.ศ. 121 จัดพิมพ์ธนบัตรรุ่นแรก มีราคา 5 บาท 10 บาท 20 บาท 100 บาทและ 1000 บาท ต่อมาเพิ่มชนิด 1 บาท                                                                                                                                               </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">8. เปลี่ยนมาตราฐานเงินมาเป็นมาตราฐานทองคำ ร.ศ. 127 เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2451 เพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราไทยให้สอดคล้องกับหลักสากลทั่วไป                                                                                                                                </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27ad5a\">9. กำเนิดธนาคารแห่งแรก เดิมเรียกว่า บุคคลัภย์ Book Clup แล้วขอพระราชทานพระบราราชานุญาตจดทะเบียนเป็นบริษัทให้ถูกต้องตามกฎหมาย มีชื่อว่า บริษัท แบงค์สยามกัมมาจล ทุนจำกัด ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด เมื่อ พ.ศ. 2482 </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45510\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45511\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />\n</p></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720196805, expire = 1720283205, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7036c17dede07f8dc54c14f52698f539' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจ ร.5

เศรษฐกิจ

1. การปรับปรุงระบบการคลัง แยกการคลังออกจากกรมท่า ให้กรมท่ามีหน้าที่ทางด้านการต่างประเทศเพียงอย่างเดียว ทรงตั้ง หอรัษฎากรพิพัฒน์ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2416 ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์เพื่อเป็น สำนักงานกลางเก็บผลประโยชน์ รายได้ภาษีอากรของแผ่นดินมารวมไว้ที่แห่งเดียว ต่อมาได้ยกฐานะหอรัษฎากรพิพัฒน์ ขึ้นเป็น กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เมื่อ พ.ศ. 2435                               

2. ตรากฎหมายกวดขันภาษีอากร โปรด ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสำหรับ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ขึ้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2416 โดยวางหลักเกณฑ์การเรียกเก็บภาษีอากรให้ทันสมัยตามแบบสากล                                                                                            

3. การปรับปรุงระบบภาษีอากรแบบใหม่ พ.ศ. 2435 ทรงตั้งข้าหลวงคลังไปประจำทุกมณฑล เพื่อทำหน้าที่เก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยตรง แล้วรวบรวมส่งไปยังกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ                                                                                          

4. ยกเลิกระบบเจ้าภาษีนายอากร เปลี่ยนให้เทศาภิบาลเก็บภาษีเองเหมือนกันหมดทุกมณฑล                                               

5. จัดทำงบประมาณแผ่นดิน ขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2439 โดยแยกพระราชทรัพย์ของพระองค์ออกจากรายได้ของแผ่นดิน ตั้ง พระคลังข้างที่ ขึ้นสำหรับจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำหรับรายได้ภาษีอากรของแผ่นดิน ให้พระคลังมหาสมบัติเป็นผู้ควบคุมดูแล       

6. จัดระบบเงินตราใหม่ โดยยกเลิกระบบเงินพดด้วง หน่วยเงิน เฟื้อง ซีก เสี้ยว อัฐ โสลฬ ตำลึง ชั่ง โดยสร้างหน่วยเงินขึ้นใหม่ ให้ใช้ เหรียญบาท เหรียญสลึง เหรียญสตางค์ กำหนดให้ 100 สตางค์ เท่ากับ 1 บาท พร้อมทั้งผลิตเหรียญสตางค์ทำด้วยทองคำขาวมี 4 ราคา ได้แก่ 20 สตางค์ 10 สตางค์ 5 สตางค์และ 2 สตางค์ครึ่ง                                                                                  

7. ตราพระราชบัญญัติธนบัตร ร.ศ. 121 จัดพิมพ์ธนบัตรรุ่นแรก มีราคา 5 บาท 10 บาท 20 บาท 100 บาทและ 1000 บาท ต่อมาเพิ่มชนิด 1 บาท                                                                                                                                              

8. เปลี่ยนมาตราฐานเงินมาเป็นมาตราฐานทองคำ ร.ศ. 127 เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2451 เพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราไทยให้สอดคล้องกับหลักสากลทั่วไป                                                                                                                               

9. กำเนิดธนาคารแห่งแรก เดิมเรียกว่า บุคคลัภย์ Book Clup แล้วขอพระราชทานพระบราราชานุญาตจดทะเบียนเป็นบริษัทให้ถูกต้องตามกฎหมาย มีชื่อว่า บริษัท แบงค์สยามกัมมาจล ทุนจำกัด ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด เมื่อ พ.ศ. 2482

 

กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ

 

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 569 คน กำลังออนไลน์